Please use this identifier to cite or link to this item: http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/5354
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorPurim Ruksuken
dc.contributorปุริม รักสุขth
dc.contributor.advisorSomporn Ruangsinchaiwanichen
dc.contributor.advisorสมพร เรืองสินชัยวานิชth
dc.contributor.otherNaresuan Universityen
dc.date.accessioned2023-04-18T02:57:04Z-
dc.date.available2023-04-18T02:57:04Z-
dc.date.created2565en_US
dc.date.issued2565en_US
dc.identifier.urihttp://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/5354-
dc.description.abstractThis thesis presents a performance analysis of wind generators suitable for wind speed of tall buildings by using the finite element method. The original wind generators were a 300-watt by  asynchronous generator with a copper coil rotor and stator. The generator design focus on Rotor type change by changing from a copper coil rotor to a permanent magnet rotor which were used for analysis in the generators. For the size of permanent magnets are 5 mm thick, 60 mm long and for wide is 20 mm, 25 mm, and 30 mm. Analysis results Three sizes of permanent magnet rotor modified generator based on analysis of average total magnetic flux and maximum magnetic flux. 20 mm magnet is 0.252T, 25 mm magnet is 2.033T, 30 mm. magnet is 0.326T and analysis of increasing the air gap of 11 rotor sizes at 1.mm – 6mm. The minimum magnetic flux of the generator results at 0.331T which is 4.5 mm. Due to total average magnetic flux is small value, resulting in less inductance between the iron core and the rotor caused better small wind turbine generators. Results of original generators and generators designed using the finite element method by comparison of the power used to drive the generator at the load of 1.8 kΩ at speed 950.54 rpm. Speed is calculated from the average and maximum speed of wind in the target area, The generators designed by finite elements require power to drives less than the original generator at 100% load (1.8kΩ) is 46.0%. At 90% load (1.35kΩ) is 42.14%. At 80% load (875Ω) is 30.14%. And at 70% load (390Ω) is 5.67%.en
dc.description.abstractวิทยานิพนธ์นี้นำเสนอการวิเคราะห์สมรรถภาพของเครื่องกำเนิดไฟฟ้าพลังงานลมที่เหมาะสำหรับความเร็วลม ด้วยการใช้วิธีไฟไนต์เอลิเมนต์ โดยใช้เครื่องกำเนิดต้นแบบเป็นชนิดเครื่องกำเนิดไฟฟ้าอะซิงโครนัส ขนาด 300 Watt ด้วยโรเตอร์และสเตเตอร์ที่เป็นขดลวดทองแดง การออกแบบเครื่องกำเนิดไฟฟ้าจะมุ่งเน้นที่การเปลี่ยนแปลงชนิดของโรเตอร์ โดยเปลี่ยนแปลงจากโรเตอร์แบบขดลวดทองแดงมาใช้โรเตอร์แม่เหล็กถาวรซึ่งถูกนำมาใช้วิเคราะห์ในเครื่องกำเนิดไฟฟ้า มีแม่เหล็กทั้งหมด 3 ขนาด มีขนาดความหนา 5 มม. ยาว 60 มม. และความกว้างแตกต่างกัน 3 ขนาด 20 มม. 25 มม.และ 30 มม. ผลการวิเคราะห์ เครื่องกำเนิดไฟฟ้าที่ปรับแปลี่ยนโรเตอร์เป็นแม่เหล็กถาวรทั้ง 3 ขนาด จากการวิเคราะห์ค่าเฉลี่ยฟลักซ์แม่เหล็กรวมของแม่เหล็กทั้ง 3 ขนาด แม่เหล็กขนาด 20 มม.และ 30 มม. มีค่าเฉลี่ยฟลักซ์แม่เหล็กรวมน้อยที่สุด เท่ากับ 0.252T, 0.326T ตามลำดับ และนำแม่เหล็กที่ได้ไปทดสอบต่อไป  การวิเคราะห์การเพิ่มแอร์แก็ปของโรเตอร์ทั้ง 11 ขนาด ที่ระยะ 1 มม. – 6 มม. ค่าฟลักซ์แม่เหล็กรวมที่มีค่าน้อยที่สุดอยู่ที่ 0.331T  คือระยะที่ 4.5 มม. เนื่องจากเครื่องกำเนิดไฟฟ้าใช้สำหรับกังหันลมขนาดเล็ก และ ระดับลมในพื้นที่ไม่สูงมาก ดังนั้นค่าเฉลี่ยฟลักซ์แม่เหล็กรวมที่มีค่าน้อยจะส่งผลให้การเหนี่ยวนำระหว่างแกนเหล็กและโรเตอร์นั้นมีค่าน้อยลงส่งผลให้กังหันลมสามารถขับเคลื่อนเครื่องกำเนิดไฟฟ้าได้ง่ายขึ้น ผลการทดสอบเครื่องกำเนิดไฟฟ้าต้นแบบ และ เครื่องกำเนิดไฟฟ้าที่ออกแบบด้วยวิธีไฟไนต์เอลิเมนต์โดยทำการเปรียบเทียบกำลังไฟฟ้าที่ใช้ขับเคลื่อนเครื่องกำเนิดขณะต่อโหลด 1.8 kΩ ที่ความเร็วรอบสูงสุด 950 rpm ซึ่งความเร็วรอบได้จากการคำนวณขนาดลมสูงสุดในเขตพื้นที่เป้าหมาย เครื่องกำเนิดไฟฟ้าที่ออกแบบด้วยวิธีไฟไนต์เอลิเมนต์ต้องการกำลังไฟฟ้าในการขับเคลื่อนน้อยกว่าเครื่องกำเนิดไฟฟ้าต้นแบบขณะต่อโหลด 100% (1.8kΩ) เท่ากับ 46.0%  เครื่องกำเนิดไฟฟ้าที่ออกแบบด้วยวิธีไฟไนต์เอลิเมนต์ต้องการกำลังไฟฟ้าในการขับเคลื่อนน้อยกว่าเครื่องกำเนิดไฟฟ้าต้นแบบขณะต่อโหลด 90% (1.35kΩ) เท่ากับ 42.14% เครื่องกำเนิดไฟฟ้าที่ออกแบบด้วยวิธีไฟไนต์เอลิเมนต์ต้องการกำลังไฟฟ้าในการขับเคลื่อนน้อยกว่าเครื่องกำเนิดไฟฟ้าต้นแบบขณะต่อโหลด 80% (875Ω) เท่ากับ 30.14%  เครื่องกำเนิดไฟฟ้าที่ออกแบบด้วยวิธีไฟไนต์เอลิเมนต์ต้องการกำลังไฟฟ้าในการขับเคลื่อนน้อยกว่าเครื่องกำเนิดไฟฟ้าต้นแบบขณะต่อโหลด 70% (390Ω)  เท่ากับ 5.67%th
dc.language.isothen_US
dc.publisherNaresuan Universityen_US
dc.rightsNaresuan Universityen_US
dc.subjectเครื่องกำเนิดไฟฟ้าth
dc.subjectแม่เหล็กถาวรth
dc.subjectกังหันลมth
dc.subjectฟลักซ์แม่เหล็กth
dc.subjectไฟไนต์เอลิเมนต์th
dc.subjectGeneratoren
dc.subjectPermanent magneten
dc.subjectwind turbineen
dc.subjectFinite Element Methoden
dc.subject.classificationEngineeringen
dc.subject.classificationElectricity, gas, steam and air conditioning supplyen
dc.titleการวิเคราะห์เครื่องกำเนิดพลังงานลมขนาดเล็กด้วยวิธีไฟไนต์เอลิเมนต์th
dc.titleAnalysis of small wind generator with finite element methoden
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
dc.contributor.coadvisorSomporn Ruangsinchaiwanichen
dc.contributor.coadvisorสมพร เรืองสินชัยวานิชth
dc.contributor.emailadvisorsompornr@nu.ac.then_US
dc.contributor.emailcoadvisorsompornr@nu.ac.then_US
dc.description.degreenameMaster of Engineering (M.Eng.)en
dc.description.degreenameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต (วศ.ม.)th
dc.description.degreelevelMaster's Degreeen
dc.description.degreelevelปริญญาโทth
dc.description.degreedisciplineDepartment of Electrical and Computer Engineering(ECPE)en
dc.description.degreedisciplineภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้าและคอมพิวเตอร์th
Appears in Collections:คณะวิศวกรรมศาสตร์

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
PurimRuksuk.pdf5.25 MBAdobe PDFView/Open


Items in NU Digital Repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.