Please use this identifier to cite or link to this item: http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/5071
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorDutsadiporn Sangsa-arden
dc.contributorดุษฎีพร สังข์สอาดth
dc.contributor.advisorSureeporn Sawangmeken
dc.contributor.advisorสุรีย์พร สว่างเมฆth
dc.contributor.otherNaresuan University. Faculty of Educationen
dc.date.accessioned2023-01-11T02:30:43Z-
dc.date.available2023-01-11T02:30:43Z-
dc.date.issued2565en_US
dc.identifier.urihttp://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/5071-
dc.descriptionMaster of Education (M.Ed.)en
dc.descriptionการศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.)th
dc.description.abstractThe purposes of this action research were to study how learning management using socioscientific issue (SSI) to enhancing  climate change literacy about human and sustainability of natural resources and the environment for 12th grade students and to study the result of enhancing  climate change literacy. The participants were 30 of 12th grade students from one high school in Chainat. The instruments used in this research were: 3 lesson plans using socioscientific issue, the learning management reflection, the activity learning sheet, and the assessment form about climate change literacy , Collecting data from learning management reflection was analyzed by content analysis to reflect learning management and the data of SSI climate change literacy ability were calculated and shown in summary through mean and percent. The findings found that using learning management through socioscientific issue were as follows; 1) analyzing problems, natural resources problems affect to climate change relevant issue should be presented and analyzing problems with priority content ; 2) data collection,using padlet application to collect data relevant to stakeholders were on order of questions concerning natural resources problems affect to climate change ; 3) understanding the issues, using discussion of relevant information and comment to climate change awareness. ; 4) role play, virtual community meeting, arranging condition were encouraged to revise climate change problems on stakeholders role; and 5) reflection of all learning management through socioscientific issue, students could be enhanced using socioscientific issue, increasing climate change literacy, and students’ learning outcome were better through by their activities, behavior self report, according to the result of assessment revealed that in operating cycle 1 the score of the activity learning sheet increase from 54.81% at interesting level to 81.44% at expression of behavior level in accordance with score of the assessment form was 80.1% at expression of behavior level.en
dc.description.abstractงานวิจัยเชิงปฏิบัติการครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาแนวทางการจัดการเรียนรู้ด้วยประเด็นทางสังคมที่เกี่ยวข้องกับวิทยาศาสตร์ที่ส่งเสริมความฉลาดรู้ด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ เรื่อง มนุษย์กับความยั่งยืนของทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 และเพื่อศึกษาผลการส่งเสริมความฉลาดรู้ด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของผู้เข้าร่วมวิจัย ได้แก่ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 จำนวน 30 คน เครื่องมือวิจัยประกอบด้วย แผนการจัดการเรียนรู้จำนวน 3 แผน แบบสะท้อนผลการจัดการเรียนรู้ ใบกิจกรรมการเรียนรู้และแบบประเมินความฉลาดรู้ด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ การวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้วิธีวิเคราะห์เนื้อหา ค่าเฉลี่ยและร้อยละ   ผลการวิจัยพบว่าการจัดการเรียนรู้ด้วยประเด็นทางสังคมที่เกี่ยวข้องกับวิทยาศาสตร์ที่ส่งเสริมความฉลาดรู้ด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศมีลักษณะดังนี้ ควรเลือกใช้ประเด็นที่เกี่ยวเนื่องระหว่างปัญหาทรัพยากรธรรมชาติที่กระทบต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและการวิเคราะห์ปัญหาใช้คำถามที่ลำดับเนื้อหาทรัพยากรธรรมชาติสู่การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ การรวบรวมข้อมูลใช้แอปพลิเคชัน Padletแบบคอลัมน์ที่ลำดับคำถามด้านทรัพยากรสู่การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศลงแต่ละคอลัมน์เพื่อใส่ข้อมูลที่สืบค้นและใช้คำถามที่ชักนำการเชื่อมโยงประเด็นปัญหากับผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศเพื่อให้ระบุประเด็นที่ต้องการสืบค้นเกี่ยวกับผู้มีส่วนได้ส่วนสียครอบคลุมทุกด้านของสถานการณ์ การทำความเข้าใจประเด็นและความสัมพันธ์ของปัญหาทางสังคมด้วยการอภิปรายเชื่อมโยงข้อมูลและแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับความตระหนักด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ การแสดงบทบาทสมมติในการประชุมประชาคมที่ต้องเสนอแนวทางการแก้ปัญหาในบทบาทของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียจากสถานการณ์โดยคำนึงถึงการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ และการสะท้อนคิดสิ่งที่ได้เรียนทั้งหมดเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศเพื่อหาแนวทางแก้ปัญหาจากสถานการณ์ในบริบทของห้องเรียนที่มีคำนึงถึงการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและรายงานพฤติกรรมด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ  ความฉลาดรู้ด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศระหว่างการจัดการเรียนรู้มีความสอดคล้องกับผลการประเมินหลังจัดการเรียนรู้ โดยร้อยละคะแนนเฉลี่ยจากใบกิจกรรมการเรียนรู้เพิ่มขึ้นจากร้อยละ 54.81 ระดับมีความสนใจในประเด็นสภาพภูมิอากาศในวงจรปฏิบัติการที่ 1 เป็นร้อยละ 81.44 ระดับมีการแสดงออกของพฤติกรรม สอดคล้องกับร้อยละคะแนนเฉลี่ยจากแบบประเมินความฉลาดรู้ด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศคือร้อยละ 80.1 ระดับมีการแสดงออกของพฤติกรรมth
dc.language.isothen_US
dc.publisherNaresuan Universityen_US
dc.rightsNaresuan Universityen_US
dc.subjectความฉลาดรู้ด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศth
dc.subjectประเด็นทางสังคมที่เกี่ยวข้องกับวิทยาศาสตร์th
dc.subjectมนุษย์กับความยั่งยืนของทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมth
dc.subjectClimate change Literacyen
dc.subjectSocial scientific Issueen
dc.subjectHumans and the sustainability of natural resources and the environmenten
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.titleการจัดการเรียนรู้ด้วยประเด็นทางสังคมที่เกี่ยวข้องกับวิทยาศาสตร์ เพื่อส่งเสริมความฉลาดรู้ด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ เรื่อง มนุษย์กับความยั่งยืนของทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6th
dc.titleStudy of Socioscientific Issue to Enhance Climate Change Literacy About Humans and Sustainability of Natural Resources and Environment for 12th Grade Studentsen
dc.typeIndependent Studyen
dc.typeการค้นคว้าอิสระth
Appears in Collections:คณะศึกษาศาสตร์

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
63090435.pdf2.62 MBAdobe PDFView/Open


Items in NU Digital Repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.