Please use this identifier to cite or link to this item: http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/5039
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorNAWACHON SOMBUNSINen
dc.contributorนวชล สมบูรณ์สินth
dc.contributor.advisorJitima Wannasrien
dc.contributor.advisorจิติมา วรรณศรีth
dc.contributor.otherNaresuan University. Faculty of Educationen
dc.date.accessioned2023-01-11T02:30:34Z-
dc.date.available2023-01-11T02:30:34Z-
dc.date.issued2564en_US
dc.identifier.urihttp://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/5039-
dc.descriptionDoctor of Education (Ed.D.)en
dc.descriptionการศึกษาดุษฎีบัณฑิต (กศ.ด.)th
dc.description.abstractThe purpose of this research was to develop a management model of administrative innovation in school. The research method is divided into 3 steps as follows: Step 1: Studying components and guidelines for developing a management model of administrative innovation in school consisted of 3 sub-stages. Step 1.1 Study of components for developing a management model of administrative innovation in school by synthesizing documents. Step 1.2 Study of guidelines for developing a management model of administrative innovation in school by interviewing experts. Step 1.3 Study of guidelines for developing a management model of administrative innovation in school by studying from Best-Practice schools. Step 2: Creating and evaluating the appropriateness of a management model of administrative innovation in school consisted of 2 sub-stages. Step 2.1 Draft a model of developing a management model of administrative innovation in school. Step 2.2 Examine the suitability of the model of developing a management model of administrative innovation in school by a focus group discussion. And step 3: Assessing the feasibility and the usefulness of a management model of administrative innovation in school by school administrators in innovation areas of 6 provinces. Each province conduct 5 schools, data were analyzed using mean and standard deviation.   The results showed that a management model of administrative innovation in school consisted of five components: 1) objectives are 1.1) To define guidelines for managing innovation, 1.2) To create and develop innovation in school, and 1.3) To enhance the learning achievement of student. 2) principles are 2.1) change management 2.2) student-centered learning, 2.3) knowledge management, and 2.4) Principles of academic administration 3) Input factors in administrative innovation are 3.1) Innovative characteristics of leader/school administrators 3.2) Innovative characteristics of teachers 3.3) Innovation management committee 3.4) Learning center, Teaching tools and Technology and 3.5) Innovative culture 4) Process of administrative innovation consists of five steps; Step 1: Planning, Step 2: Design and implementation of the plan, Step 3: Trial, Step 4: Evaluation, and Step 5: Publishing and Improvement and 5) Innovative output are, 5.1) Process Innovation 5.2) Product Innovation and 5.3) Management Innovation. The results of the suitability assessment of the model, the experts agreed that the model is appropriate. The results of the feasibility assessment and the usefulness assessment of the model from the innovative area school administrators, confirmed that the feasibility were at high and the usefulness were at the highest levelen
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อพัฒนารูปแบบการจัดการนวัตกรรมทางการบริหารในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน วิธีดำเนินการวิจัยแบ่งออกเป็น 3 ขั้นตอน ได้แก่ ขั้นตอนที่ 1 การศึกษาองค์ประกอบและแนวทางการจัดการนวัตกรรมทางการบริหารในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ประกอบด้วย  3  ขั้นย่อย  ขั้นที่  1.1  การศึกษาองค์ประกอบการจัดการนวัตกรรมทางการบริหารในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยสังเคราะห์เอกสาร ขั้นที่ 1.2 การศึกษาแนวทางการจัดการนวัตกรรมทางการบริหารในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยสัมภาษณ์ผู้ทรงคุณวุฒิ ขั้นที่ 1.3 การศึกษาแนวทางการจัดการนวัตกรรมทางการบริหารในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยศึกษาจากโรงเรียนที่มีวิธีปฏิบัติที่ดี ขั้นตอนที่ 2 การสร้างและตรวจสอบรูปแบบการจัดการนวัตกรรมทางการบริหารในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ประกอบด้วย 2 ขั้นย่อย ขั้นที่ 2.1 การยกร่างรูปแบบการจัดการนวัตกรรมทางการบริหารในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ขั้นที่ 2.2 การตรวจสอบความเหมาะสมของรูปแบบการจัดการนวัตกรรมทางการบริหารในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยการจัดสนทนากลุ่ม ขั้นตอนที่ 3 การประเมินความเป็นไปได้และความเป็นประโยชน์ของรูปแบบการจัดการนวัตกรรมทางการบริหารในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยผู้บริหารสถานศึกษาโรงเรียนพื้นที่นวัตกรรม จำนวน 6 จังหวัด โดยการสุ่มแบบชั้นภูมิ แยกตามจังหวัด พื้นที่ละ 5 โรงเรียน วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัย พบว่า รูปแบบการจัดการนวัตกรรมทางการบริหารในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ประกอบด้วย 5 องค์ประกอบ ได้แก่ องค์ประกอบที่ 1 วัตถุประสงค์ ได้แก่ 1) เพื่อกำหนดแนวทางในการจัดการ นวัตกรรม 2) เพื่อสร้างและพัฒนานวัตกรรม และ 3) เพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียน องค์ประกอบที่ 2 หลักการ ได้แก่ 1) หลักการบริหารการเปลี่ยนแปลง 2) หลักการเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ 3) หลักการจัดการความรู้ และ 4) หลักการบริหารงานวิชาการ องค์ประกอบที่ 3 ปัจจัยนำเข้าในการจัดการนวัตกรรม ได้แก่ 1) คุณลักษณะเชิงนวัตกรรมของผู้นำ/ผู้บริหาร 2) คุณลักษณะเชิงนวัตกรรมของครูและบุคลากร 3) คณะกรรมการการจัดการนวัตกรรม 4) แหล่งเรียนรู้ สื่อและเทคโนโลยี  5) วัฒนธรรมนวัตกรรม องค์ประกอบที่ 4  กระบวนการจัดการนวัตกรรม ได้แก่  ขั้นตอนที่ 1  ศึกษาและวิเคราะห์ปัญหา  ขั้นตอนที่ 2 วางแผนออกแบบ  ขั้นตอนที่ 3 ใช้นวัตกรรม  ขั้นตอนที่ 4 การประเมินผล และขั้นตอนที่ 5 การเผยแพร่นวัตกรรม องค์ประกอบที่ 5 ผลผลิต ได้แก่ 1) นวัตกรรมกระบวนการ 2) นวัตกรรมผลิตภัณฑ์ และ 3) นวัตกรรมการจัดการ ผลการตรวจสอบความเหมาะสมของรูปแบบการจัดการนวัตกรรมทางการบริหารในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน  ผู้ทรงคุณวุฒิ  มีความเห็นว่า  มีความเหมาะสม  ส่วนผลการประเมินความเป็นไปได้และความเป็นประโยชน์ของรูปแบบการจัดการนวัตกรรมทางการบริหารในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน รูปแบบการจัดการนวัตกรรมทางการบริหารในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน มีความเห็นว่า มีความเป็นไปได้อยู่ในระดับมาก และมีความเป็นประโยชน์อยู่ในระดับมากที่สุดth
dc.language.isothen_US
dc.publisherNaresuan Universityen_US
dc.rightsNaresuan Universityen_US
dc.subjectรูปแบบการจัดการth
dc.subjectนวัตกรรมทางการบริหารth
dc.subjectสถานศึกษาth
dc.subjectModel of Developingen
dc.subjectInnovation managementen
dc.subjectSchoolen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.titleรูปแบบการจัดการนวัตกรรมทางการบริหารในสถานศึกษาขั้นพื้นฐานth
dc.titleA MANAGEMENT MODEL OF ADMINISTRATIVE INNOVATION IN SCHOOLen
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:คณะศึกษาศาสตร์

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
61032048.pdf2.26 MBAdobe PDFView/Open


Items in NU Digital Repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.