Please use this identifier to cite or link to this item: http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/2567
Title: ปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมการลดปริมาณขยะมูลฝอยครัวเรือนในเขต องค์การบริหารส่วนตำบลที่ไม่มีการบริหารจัดการขยะมูลฝอย อำเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก
Factors affecting household solid waste reduction behavior in subdistrict administrative organization  without solid waste management, Mueang district,  Phitsanulok province
Authors: SARAWUT THABPADUNG
ศราวุฒิ ทับผดุง
Chakkraphan Phetphum
จักรพันธ์ เพ็ชรภูมิ
Naresuan University. Faculty of Public Health
Keywords: พฤติกรรม
การบริหารจัดการขยะมูลฝอย
องค์การบริหารส่วนตำบล
Behavior
Solid waste management
Subdistrict administrative organization
Issue Date: 2563
Publisher: Naresuan University
Abstract: This cross-sectional study research aimed to describe solid waste reduction behavior and factors affecting household solid waste reduction behavior in subdistrict administrative organization  without solid waste management, Mueang district,  Phitsanulok province. The following data were obtained from 404 households. The data were collected during March to June 2020 and analyzed by using stepwise multiple regression. The results showed that household solid waste reduction behavior were at high level ( x̅  = 3.89, S.D. = 0.592). Factors affecting household solid waste reduction behavior were social support (Beta = 0.280)  positive attitude of solid waste reduction behavior (Beta = 0.246) motivation of solid waste reduction (Beta = 0.220) knowledge of solid waste reduction (Beta = 0.180) number of household member (Beta = 0.101) and service of The recycle shop (Beta = 0.082). The constructed six independent variables in multiple regression have a predictive value of 39.10 percent of the variance in solid waste reduction behavior with statistical  significance at level of P – value < 0.05. Suggestions for further study are subdistrict administrative organization should increase social support and motives about community solid waste reduction to sustainable solid waste reduction from the source.
การศึกษาครั้งนี้ เป็นการวิจัยแบบภาคตัดขวาง (Cross sectional research) มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพฤติกรรมการลดปริมาณขยะมูลฝอยและเพื่อศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมการลดปริมาณขยะมูลฝอยครัวเรือนในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลที่ไม่มีการบริหารจัดการขยะมูลฝอย อำเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก กลุ่มตัวอย่าง คือ ครัวเรือนที่มีทะเบียนบ้านอยู่ในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลที่ไม่มีการบริหารจัดการขยะมูลฝอย อำเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก จำนวน 8 ตำบล จำนวน 404 ครัวเรือน เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามในระหว่างเดือนมีนาคม - มิถุนายน พ.ศ. 2563 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณแบบขั้นตอน ผลการศึกษา พบว่า กลุ่มตัวอย่างในภาพรวมมีพฤติกรรมการลดปริมาณขยะมูลฝอย อยู่ในระดับสูง ( x̅  = 3.89, S.D. = 0.592) ปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมการลดปริมาณขยะมูลฝอยครัวเรือนในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลที่ไม่มีการบริหารจัดการขยะมูลฝอย อำเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก มีจำนวนทั้งสิ้น 6 ตัวแปร คือ การได้รับแรงสนับสนุนทางสังคม (Beta = 0.280) ทัศนคติที่ดีต่อพฤติกรรมการลดปริมาณขยะมูลฝอย (Beta = 0.246) แรงจูงใจต่อการลดปริมาณขยะมูลฝอย (Beta = 0.220) ความรู้เกี่ยวกับการลดปริมาณขยะมูลฝอย (Beta = 0.180) จำนวนสมาชิกในครัวเรือน (Beta = 0.101) และการให้บริการของผู้รับซื้อของเก่า (Beta = 0.082) โดยสามารถทำนายพฤติกรรมการลดปริมาณขยะมูลฝอย ร้อยละ 39.10 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05     ข้อเสนอแนะจากการศึกษา คือ องค์การบริหารส่วนตำบลควรเพิ่มบทบาทในการสนับสนุนทางสังคมให้กับชุมชน มีการสร้างแรงจูงใจให้ประชาชนสามารถลดปริมาณขยะมูลฝอยตั้งแต่ต้นทางอย่างยั่งยืน
Description: Master of Public Health (M.P.H.)
สาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต (ส.ม.)
URI: http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/2567
Appears in Collections:คณะสาธารณสุขศาสตร์

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
61062205.pdf2.88 MBAdobe PDFView/Open


Items in NU Digital Repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.