Please use this identifier to cite or link to this item: http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/2559
Title: ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเตรียมความพร้อมสู่การเป็นผู้สูงวัยอย่างมีคุณภาพของประชาชน ในอำเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก
Factors Influencing the Elderly Retirement Preparation Behavior in Muang District, Phitsanulok Province.
Authors: WACHAKORN NOPNARIN
วชากร นพนรินทร์
Thanach Kanokthet
ธนัช กนกเทศ
Naresuan University. Faculty of Public Health
Keywords: การเตรียมความพร้อม
ผู้สูงวัยอย่างมีคุณภาพ
ประชาชน
Preparation
Quality old people
People
Issue Date: 2563
Publisher: Naresuan University
Abstract: The aim of this predictive research was to study factors influencing preparation for becoming Quality elderly people in mueang district, phitsanulok province. The samples, with multi-stage sampling, included 250 samples with people 55-59 years old. Data were collected by using questionnaire, with a reliability of 0.86, analyzed by using descriptive statistics and stepwise multiple regression analysis, was found at significant level of 0.05. The results showed that 67.8% had a moderate social support, 69.6% had a high level of knowledge about how to prepare for being an elderly person, 70.8% had a high level of attitude towards preparing for being elderly and 58.8% had a high level of preparation for being elderly. For factors influencing preparation for becoming quality elderly people in mueang district, phitsanulok province, there were 4 factors as follows : attitude towards preparing for being elderly (r = 0.752, p < 0.001), knowledge about how to prepare for being an elderly person (r = 0.551, p < 0.001), social support (r = 0.532, p < 0.001) and age (r = 0.163, p = 0.001) respectively. All four factors predicted the preparation for becoming quality elderly people in mueang district, phitsanulok province at 68.3% with the significant level of 0.05.
การวิจัยเชิงพยากรณ์นี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเตรียมความพร้อมสู่การเป็นผู้สูงวัยอย่างมีคุณภาพของประชาชน ในอำเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ บุคคลที่มีอายุระหว่าง  50-59  ปี จำนวน 250 คน สุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน เก็บรวบรวมข้อมูลด้วยแบบสอบถามที่มีค่าความเชื่อมั่น 0.86 วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณนา และทดสอบสมมติฐานการวิจัยด้วยสถิติการวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณแบบทีละขั้นที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ 0.05  ผลการวิจัย พบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ ร้อยละ 64.8 มีแรงสนับสนุนทางสังคมอยู่ในระดับปานกลาง ร้อยละ 69.6 มีความรู้เกี่ยวกับการเตรียมความพร้อมการเป็นผู้สูงอายุในระดับมาก ร้อยละ 70.8 มีทัศนคติต่อการเตรียมความพร้อมการเป็นผู้สูงอายุอยู่ในระดับมาก และร้อยละ 58.8 มีการเตรียมความพร้อมการเป็นผู้สูงอายุอยู่ในระดับมาก สำหรับปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเตรียมความพร้อมสู่การเป็นผู้สูงวัยอย่างมีคุณภาพของประชาชน ในอำเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก มีจำนวน 4 ปัจจัย ได้แก่ ทัศนคติต่อการเตรียมความพร้อมการเป็นผู้สูงอายุ (r = 0.752, p < 0.001), ความรู้เกี่ยวกับการเตรียมความพร้อมการเป็นผู้สูงอายุ (r = 0.551, p < 0.001), แรงสนับสนุนทางสังคม (r = 0.532, p < 0.001) และอายุ (r = 0.163, p = 0.001) ตามลำดับ โดยปัจจัยทั้ง 4 ร่วมพยากรณ์การเตรียมความพร้อมสู่การเป็นผู้สูงวัยอย่างมีคุณภาพของประชาชน ในอำเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก ได้ร้อยละ 68.3 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05
Description: Master of Public Health (M.P.H.)
สาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต (ส.ม.)
URI: http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/2559
Appears in Collections:คณะสาธารณสุขศาสตร์

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
61062007.pdf1.73 MBAdobe PDFView/Open


Items in NU Digital Repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.