Please use this identifier to cite or link to this item: http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/1552
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorCHUTIMA MANMORen
dc.contributorชุติมา มั่นเหมาะth
dc.contributor.advisorAtchara Sriphanen
dc.contributor.advisorอัจฉรา ศรีพันธ์th
dc.contributor.otherNaresuan University. Faculty of Educationen
dc.date.accessioned2020-10-27T07:41:51Z-
dc.date.available2020-10-27T07:41:51Z-
dc.date.issued2562en_US
dc.identifier.urihttp://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/1552-
dc.descriptionMaster of Education (M.Ed.)en
dc.descriptionการศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.)th
dc.description.abstractThe research purpose was to create the historical learning activities of Phichit history town by using the Community-Based Learning. It is a qualification research. All of the information are from 217 sampling’s of learners, villagers, government personals, and experimental historical teachers. This study has a scope area in Mueang Kao sub-district, Phichit province. The research instruments are consisted in descriptive statistic and data triangulation. The findings of the study indicated the problems of learning history subject are 1) limitation of time study 2) Less of attentions from the learners who are in Math-Science program and English program. 3) Lack of the expert history teacher. As a consequence, ‘the Little Detectives’ - the historical learning activities of Phichit history is occurred. It is under an active learning theory as using games. There are four elements to run on this activity, learners, teachers, learning instructions, learning environment. COVIDS is the guideline of creating the activity. It will make the learners to realize the local history and use the story to do some history projects that hopefully keep this history to be permanency and let the people what’s the importance of history.en
dc.description.abstractงานวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างกิจกรรมเสริมศักยภาพการเรียนรู้ประวัติศาสตร์เมืองเก่าพิจิตรบนฐานชุมชน โดยเป็นงานวิจัยเชิงคุณภาพ กลุ่มผู้ให้ข้อมูลหลัก คือ กลุ่มผู้เรียน กลุ่มผู้ให้ความรู้ทางประวัติศาสตร์ กลุ่มบุคลากรในหน่วยงานภาครัฐ และกลุ่มครูผู้สอนในโรงเรียน รวมทั้งสิ้น 217 คน โดยมีขอบเขตพื้นที่การวิจัย คือ ตำบลเมืองเก่า จังหวัดพิจิตร วิเคราะห์ข้อมูลแบบสรุปอุปนัยโดยบันทึกพรรณนา และตรวจสอบความน่าเชื่อถือแบบสามเส้าด้วยวิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล ผลการวิจัย พบว่า สภาพปัจจุบันและปัญหาด้านการจัดการเรียนรู้วิชาประวัติศาสตร์ คือ ชั่วโมงสอนของครูผู้สอนมีเวลาจำกัด ผู้เรียนห้องเรียนพิเศษไม่ได้ให้ความสำคัญ และขาดความพร้อมของครูผู้สอน ผู้วิจัยจึงสร้างกระบวนการจัดกิจกรรมเสริมศักยภาพการเรียนรู้ประวัติศาสตร์เมืองเก่าพิจิตรบนฐานชุมชนให้สอดคล้องกับองค์ความรู้ประวัติศาสตร์ท้องถิ่น ภายใต้กิจกรรม “นักสืบน้อยย้อนรอยประวัติศาสตร์เมืองเก่าพิจิตร” มุ่งเน้นให้ผู้เรียนเกิดทักษะจากการเรียนรู้ Active learning โดยใช้เกมเป็นสิ่งขับเคลื่อนการเรียนรู้ ผลการวิจัยพบว่า มี 4 องค์ประกอบ คือ ด้านผู้เรียน ด้านผู้สอน ด้านสื่อและแหล่งเรียนรู้ และด้านระบบนิเวศการเรียนรู้ จากผลการวิจัยสามารถสรุปเป็นแนวทางการสร้างกิจกรรมเสริมศักยภาพการเรียนรู้ คือ COVIDS ทั้งนี้ทำให้ผู้เรียนเกิดการตื่นรู้ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและต่อยอดเป็นโครงงานประวัติศาสตร์ ทำให้เกิดความคงทนของความรู้สู่การพัฒนาอย่างยั่งยืน ตลอดจนนำไปสู่การมีจิตสำนึกรักท้องถิ่นth
dc.language.isothen_US
dc.publisherNaresuan Universityen_US
dc.rightsNaresuan Universityen_US
dc.subjectกิจกรรมเสริมศักยภาพth
dc.subjectประวัติศาสตร์เมืองเก่าพิจิตรth
dc.subjectการเรียนรู้บนฐานชุมชนth
dc.subjectDeveloping activitiesen
dc.subjectHistory Town of Phichiten
dc.subjectCommunity-Based Learningen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.titleการจัดกิจกรรมเสริมศักยภาพการเรียนรู้ประวัติศาสตร์เมืองเก่าพิจิตรบนฐานชุมชนth
dc.titleACTIVITIES FOR ENHANCING THE COMPETENCE OF COMMUNITY-BASED LEARNING FROM THE HISTORY OF PHICHIT ANCIENT CITYen
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:คณะศึกษาศาสตร์

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
61070422.pdf9.59 MBAdobe PDFView/Open


Items in NU Digital Repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.