Please use this identifier to cite or link to this item: http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/1533
Title: แรงจูงใจในการทำงานกับความต้องการอยู่ต่อของพนักงานธนาคารในจังหวัดเพชรบูรณ์
Motivation in the Work and the Needs to Stay of Bank's Employees in Phetchabun Province.
Authors: WANNIDA KANHA
วรรณิดา กันหา
Warawude Rurkwararuk
วราวุธ ฤกษ์วรารักษ์
Naresuan University. Faculty of Business,Economics and Communications
Keywords: แรงจูงใจ
ความต้องการ
Motivation in the work
the needs
Issue Date: 2562
Publisher: Naresuan University
Abstract: The purpose of this study was  to study the motivation factors and the needs to continue working of bank employees in Phetchabun province. The sample in this study was 406 bank employees in Phetchabun province. Questionnaires were used as tools for data collection. The statistics used for data analysis were frequency, percentage, mean, standard deviation. Hypotheses testing was done by using T-test, One-Way ANOVA and Multiple Regression Analysis.                  The study found that: Overall, the Motivation factors and Hygiene factors were at a High level. For Personal factors, it is found that differences in gender, age, education, organization that they work with, length of work with the banks, income levels, and positions did affect the need to stay differently, with statistical significance at the level of 0.05. When analyzing with Multiple Regression, it was found that the Motivation factors in terms of Job Responsibility, Nature of the work, Success in the workplace, and Growth in the organization did influence the motivation at work with statistical significance at the level of 0.05.  For Hygiene Factors, it was found that Job security, Salary and welfare, Relations with supervisors, Relations with colleagues, and Operational conditions did influence the motivation at work with statistical significance level 0.05. From the study, Motivation for bank employees in job responsibilities, it is suggested that banks should make employees feel responsible for important work, by having a competition to win goals within the organization.
การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาปัจจัยจูงใจในการทำงานและความต้องการอยู่ต่อของพนักงานธนาคารในจังหวัดเพชรบูรณ์ ประชากรกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษา คือ พนักงานธนาคารในจังหวัดเพชรบูรณ์ จำนวน 406 คน และใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล สถิติที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบสมมติฐานแบบ t-test  และ One-Way ANOVA และ Multiple Regression Analysis           ผลการศึกษาพบว่า แรงจูงใจในการทำงานของพนักงานธนาคารภาพรวมปัจจัยจูงใจและปัจจัยค้ำจุนอยู่ในระดับมาก ปัจจัยส่วนบุคคล พบว่า เพศ อายุ วุฒิการศึกษา องค์กรที่สังกัด อายุการทำงานกับธนาคาร ระดับรายได้ และตำแหน่งงานที่ต่างกัน ส่งผลต่อความต้องการอยู่ต่อแตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 เมื่อวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ พบว่า ปัจจัยจูงใจ ด้านความรับผิดชอบในงาน ด้านลักษณะของงานที่ทำ ด้านความสำเร็จในการทำงาน และด้านการเจริญเติบโตในองค์กร มีอิทธิพลต่อการจูงใจในการทำงานอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ส่วนปัจจัยค้ำจุน ด้านความมั่นคงในงาน ด้านเงินเดือนและสวัสดิการ ด้านความสัมพันธ์กับผู้บังคับบัญชา ด้านความสัมพันธ์กับเพื่อนร่วมงาน และด้านสภาพการปฏิบัติงาน มีอิทธิพลต่อการจูงใจในการทำงานอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 จากผลการศึกษา การจูงใจพนักงานธนาคารด้านความรับผิดชอบในงาน ธนาคารควรทำให้พนักงานรู้สึกว่าได้รับผิดชอบงานที่สำคัญ โดยมีการจัดการแข่งขันพิชิตเป้าหมายภายในองค์กร
Description: Master of Business Administration (M.B.A.)
บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (บธ.ม.)
URI: http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/1533
Appears in Collections:คณะบริหารธุรกิจ เศรษฐศาสตร์และการสื่อสาร

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
61062045.pdf2.7 MBAdobe PDFView/Open


Items in NU Digital Repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.