Please use this identifier to cite or link to this item: http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/1456
Title: การจำแนกกลุ่มข้อมูลทางดนตรี
Music data clustering
Authors: SUNUN TATI
สุนันท์ ธาติ
Woralak Kongdenfha
วรลักษณ์ คงเด่นฟ้า
Naresuan University. Faculty of Engineering
Keywords: การทําเหมืองข้อมูล
การจัดกลุ่มข้อมูล
การรู้จำข้อมูลดนตรี
สเปคโตแกรม
ลายนิ้วมือทางเสียง
Data mining
Data clustering
Music recognition
Audio fingerprint
Spectrogram
Issue Date: 2562
Publisher: Naresuan University
Abstract: Listening is the most common way to detect copyright infringement or identify unknown music data, but it is difficult to analyze a large amount of music data. The accuracy also depends on the listener's level of expertise. As mentioned earlier, music recognition is applied to solve this problem and the audio fingerprint is widely used as data feature. Audio fingerprint analysis is effective at finding audio tracks which are duplicate content (exactly match) however it cannot detect in the case of similar content. This research proposes a method for finding the similarity between two songs using relation functions for comparing audio fingerprints instead of comparing bigger music content. For a case study, we try to find the original song from the cover song to assess the efficiency of our approach. The findings of this study indicate that proposed approach can be use effectively to identify the original song covered with many genres. The overall average area under curve (Average AUC) is 0.790.
วิธีการทั่วไปในการตรวจสอบการละเมิดลิขสิทธิ์หรือการระบุข้อมูลเพลงคือการฟังโดยคน แต่การฟังมีข้อจำกัดในกรณีที่ต้องวิเคราะห์ข้อมูลเพลงจำนวนมากๆ อีกทั้งความถูกต้องแม่นยำยังขึ้นอยู่กับความเชี่ยวชาญของผู้ฟังแต่ละคน ด้วยข้อจำกัดดังกล่าวจึงมีการประยุกต์ใช้หลักการการรู้จำดนตรี (Music recognition) ในการแก้ไขปัญหานี้แทนและคุณลักษณะของข้อมูลที่ถูกนำมาใช้ในการวิเคราะห์อย่างกว้างขวางคือลายนิ้วมือทางเสียง (Audio fingerprint)  การวิเคราะห์ลายนิ้วมือทางเสียงมีประสิทธิภาพมากในการตรวจสอบว่าข้อมูลเสียงใดเป็นเพลงเดียวกันในกรณีที่มีเนื้อหาตรงกัน (Exactly match) แต่ยังไม่สามารถตรวจสอบได้ในกรณีที่เนื้อหาคล้ายคลึงกัน (Similar) งานวิจัยฉบับนี้นำเสนอวิธีการหาความคล้ายคลึงกันของเพลงโดยใช้ฟังก์ชันความสัมพันธ์ (Relation function) สำหรับการเปรียบเทียบลายนิ้วมือทางเสียงแทนการเปรียบเทียบข้อมูลเสียงขนาดใหญ่ทีละคู่ และทดลองใช้วิธีการที่นำเสนอเพื่อระบุเพลงต้นฉบับจากเพลงคัฟเวอร์ ผลการทดลองพบว่าวิธีการดังกล่าวสามารถระบุเพลงต้นฉบับได้อย่างมีประสิทธิภาพครอบคลุมกลุ่มเพลงทุกประเภท (Genre) โดยมีพื้นที่ใต้กราฟเฉลี่ย (Average AUC) เป็น 0.790
Description: Doctor of Philosophy (Ph.D.)
ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (ปร.ด.)
URI: http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/1456
Appears in Collections:คณะวิศวกรรมศาสตร์

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
56032289.pdf1.49 MBAdobe PDFView/Open


Items in NU Digital Repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.