Please use this identifier to cite or link to this item: http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/6545
Title: Development of Reading Activities by Using Local Contexts Reading Materials with Scaffolding Technique to Enhance the Thai Reading Ability Entitled “Spelling of Words Ending do not Follow the Rules” for Prathomsuksa 2
การพัฒนากิจกรรมการอ่าน โดยใช้สื่อวัฒนธรรมท้องถิ่นตามแนวการอ่านแบบเสริมต่อการเรียนรู้ เพื่อเสริมสร้างความสามารถในการอ่านภาษาไทย คำที่ตัวสะกดไม่ตรงมาตรา ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2
Authors: Kanokrat Wongyala
กนกรัตน์ วงษ์ยะลา
Chamnan Panawong
ชำนาญ ปาณาวงษ์
Naresuan University
Chamnan Panawong
ชำนาญ ปาณาวงษ์
chamnanp@nu.ac.th
chamnanp@nu.ac.th
Keywords: กิจกรรมการอ่าน
สื่อวัฒนธรรมท้องถิ่น
การเสริมต่อการเรียนรู้
ความสามารถในการอ่านภาษาไทยคำที่ตัวสะกดไม่ตรงมาตรา
Reading Activity
Local Context Reading Material
Scaffolding
Thai Reading Ability Entitled "Spelling of Words Ending Do Not Follow the Rules"
Issue Date:  6
Publisher: Naresuan University
Abstract: The aims of this research were to 1) construct and determine the effectiveness index of the reading activities by using local contexts reading materials with scaffolding technique to enhance the Thai reading ability entitled “spelling of words ending do not follow the rules” for Prathomsuksa 2, 2) compare the Thai reading ability entitled “spelling of words ending do not follow the rules” before and after studying with learning activities using the reading activities by using local contexts reading materials with scaffolding technique, and 3) study the satisfaction of students with studying by using the reading activities by using local contexts reading materials with scaffolding technique. The research was conducted by research and development methodology. The sample was 34 Prathomsuksa 2 students, semester 2, academic year 2022, Banpakkayang School, Primary Educational Service Area Office Sukhothai 2, which obtained by purposive sampling. The research instruments consisted of 1) the reading activities by using local contexts reading materials with scaffolding technique to enhance the Thai reading ability entitled “spelling of words ending do not follow the rules”, 2) the Thai reading ability entitled “spelling of words ending do not follow the rules” test, and 3) the satisfaction of students questionnaire. Data were analyzed using mean, standard deviation, effectiveness index, and an independent t-test. The results showed that; 1. The reading activities by using local contexts reading materials with scaffolding technique to enhance the Thai reading ability entitled “spelling of words ending do not follow the rules” for Prathomsuksa 2, there were 5 stages such as, Step 1: engagement , Step 2: selecting contexts reading materials, Step 3: constructing knowledge with materials, Step 4: conclusion and presentation, and Step 5: application of knowledge. The results of appropriateness of learning activities were at a high level  (mean = 4.43, S.D. = 0.50) and had effectiveness index of reading activities at 0.57 2. The students had the Thai reading ability entitled “spelling of words ending do not follow the rules” after studying with the reading activities by using local contexts reading materials with scaffolding technique to enhance the Thai reading ability entitled “spelling of words ending do not follow the rules” for Prathomsuksa 2 higher than before at the statistical significance level of 0.5. 3. The students were satisfied with studying through the reading activities by using local contexts reading materials with scaffolding technique to enhance the Thai reading ability entitled “spelling of words ending do not follow the rules” for Prathomsuksa 2 , overall was at the highest level (mean = 4.68, S.D. = 0.23)
การวิจัยครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อ 1) สร้างและหาดัชนีประสิทธิผลของกิจกรรมการอ่าน โดยใช้สื่อวัฒนธรรมท้องถิ่นตามแนวการอ่านแบบเสริมต่อการเรียนรู้ เพื่อเสริมสร้างความสามารถในการอ่านภาษาไทย คำที่ตัวสะกดไม่ตรงมาตรา ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 2) เปรียบเทียบความสามารถด้านการอ่านออกเสียงคำที่ตัวสะกดไม่ตรงมาตรา ก่อนและหลังเรียนด้วยกิจกรรมการอ่านโดยใช้สื่อวัฒนธรรมท้องถิ่นตามแนวการอ่านแบบเสริมต่อการเรียนรู้ และ 3) ศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการเรียนด้วยกิจกรรมการอ่าน โดยใช้สื่อวัฒนธรรมท้องถิ่นตามแนวการอ่านแบบเสริมต่อการเรียนรู้ ดำเนินการวิจัยโดยใช้ระเบียบวิธีวิจัยและพัฒนา กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนบ้านปากคะยาง สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุโขทัย เขต 2 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2565 จำนวน 34 คน โดยเลือกแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ประกอบด้วย 1) กิจกรรมการอ่านโดยใช้สื่อวัฒนธรรมท้องถิ่นตามแนวการอ่านแบบเสริมต่อการเรียนรู้เพื่อเสริมสร้างความสามารถในการอ่านภาษาไทย คำที่ตัวสะกดไม่ตรงมาตรา 2) แบบวัดความสามารถในการอ่านภาษาไทย คำที่ตัวสะกดไม่ตรงมาตรา 3) แบบวัดความพึงพอใจของนักเรียน วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าดัชนีประสิทธิผล และการทดสอบทีแบบไม่เป็นอิสระ ผลการวิจัยพบว่า 1. กิจกรรมการอ่าน โดยใช้สื่อวัฒนธรรมท้องถิ่นตามแนวการอ่านแบบเสริมต่อการเรียนรู้ เพื่อเสริมสร้างความสามารถในการอ่านภาษาไทย คำที่ตัวสะกดไม่ตรงมาตรา ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2  มี 5 ขั้นตอน คือ ขั้นที่ 1 สร้างความสนใจโดยสื่อวัฒนธรรมท้องถิ่นและกำหนดเป้าหมาย ขั้นที่ 2 เลือกสื่อวัฒนธรรมในท้องถิ่นที่นักเรียนสนใจ ขั้นที่ 3 สร้างองค์ความรู้จากแรงจูงใจผ่านสื่อวัฒธรรมท้องถิ่น ขั้นที่ 4 สรุปและนำเสนอองค์ความรู้ ขั้นที่ 5 ประยุกต์ใช้องค์ความรู้ ผลการประเมินกิจกรรมมีความเหมาะสมอยู่ในระดับมาก (mean = 4.43, S.D. = 0.50) และมีค่าดัชนีประสิทธิผลของกิจกรรมการอ่านเท่ากับ 0.57 2. นักเรียนมีความสามารถในการอ่านภาษาไทย คำที่ตัวสะกดไม่ตรงมาตรา หลังเรียนด้วยกิจกรรมการอ่าน โดยใช้สื่อวัฒนธรรมท้องถิ่นตามแนวการอ่านแบบเสริมต่อการเรียนรู้ หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3. นักเรียนมีความพึงพอใจต่อการเรียนด้วยกิจกรรมการอ่านโดยใช้สื่อวัฒนธรรมท้องถิ่นตามแนวการอ่านแบบเสริมต่อการเรียนรู้ เพื่อเสริมสร้างความสามารถในการอ่านภาษาไทย คำที่ตัวสะกดไม่ตรงมาตรา อยู่ในระดับมากที่สุด (mean = 4.68, S.D. = 0.23)
URI: http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/6545
Appears in Collections:คณะศึกษาศาสตร์

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
64090038.pdf7.91 MBAdobe PDFView/Open


Items in NU Digital Repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.