Please use this identifier to cite or link to this item: http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/6543
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorBenjarat Kuansanoren
dc.contributorเบญจรัตน์ ควรเสนาะth
dc.contributor.advisorSathiraporn Chaowachaien
dc.contributor.advisorสถิรพร เชาวน์ชัยth
dc.contributor.otherNaresuan Universityen
dc.date.accessioned2024-12-11T02:45:50Z-
dc.date.available2024-12-11T02:45:50Z-
dc.date.created2023en_US
dc.date.issued6/6/2023en_US
dc.identifier.urihttp://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/6543-
dc.description.abstractThe purposes of this research were 1) to study the level of learning organization of school under the secondary educational service area office Phichit.   2) to study the level of organizational commitment of school administrators and teachers under the secondary educational service area office Phichit. and 3) to study the relationship between learning organization and organizational commitment of school administrators and teachers under the secondary educational service area office Phichit. The sample group was 274 school administrators and teachers under the secondary educational service area office Phichit. The sample group was 274 samples, consisting of 16 school administrators and 258 teachers. The samples were determined according to the Krejcie and Morgan tables and the samples were obtained by using the unified campus stratified random sampling. Research instruments is a questionnaire about being learning organization and organizational commitment of school administrators and teachers under the secondary educational service area office Phichit.  The statistics used to analyze the data were frequency, percentage, mean, standard deviation, and Pearson product moment correlation analysis The research results were as follows: 1) Being a learning organization of school under the secondary educational service area office Phichit as a whole was at a high level. Considering in each aspect, it was found that the aspect with the highest average was the person of learning, followed by the conceptual pattern and systematic thinking, the lowest average was team learning. respectively. 2) Organizational commitment of school administrators and teachers under the secondary educational service area office Phichit overall was at a high level. When considering each aspect, it was found that the aspect with the highest average was the aspect of confidence, acceptance of the organization's goals and values, followed by the willingness to create organizational success. The aspect with the lowest average was the desire to maintain organizational membership. 3) The relationship between learning organization and organizational commitment of school administrators and teachers under the secondary educational service area office Phichit overall and each aspect had a positive relationship at high level of correlation (r). =.647**) with statistical significance at the .01 level.en
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อ 1) ศึกษาระดับการเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ ของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาพิจิตร 2) ศึกษาระดับ ความผูกพันต่อองค์การของผู้บริหารสถานศึกษาและครู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาพิจิตร และ 3) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้กับความผูกพันต่อองค์การของผู้บริหารสถานศึกษาและครู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาพิจิตรกลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษาและครูในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาพิจิตร จำนวน 274 คน ประกอบไปด้วย ผู้บริหารสถานศึกษา จำนวน 16 คน และครู จำนวน 258 คน ซึ่งได้จากกำหนดกลุ่มตัวอย่างของเครจซี่และมอร์แกน และวิธีการได้มาของกลุ่มตัวอย่างใช้วิธีการสุ่มแบบแบ่งชั้น โดยใช้สหวิทยาเขตเป็นชั้นในการแบ่ง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย เป็นแบบสอบถามเกี่ยวกับการเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้กับความผูกพันต่อองค์การของผู้บริหารสถานศึกษาและครู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาพิจิตร สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลคือ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและการวิเคราะห์ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน (Pearson’s Product Moment Correlation)       ผลการวิจัยพบว่า 1) การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาพิจิตร โดยรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณารายด้าน พบว่า ด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด     คือ ด้านบุคคลแห่งการเรียนรู้ รองลงมา คือ ด้านแบบแผนทางความคิด และด้านการคิดอย่างเป็นระบบ ด้านที่มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด คือ ด้านการเรียนรู้ร่วมกันเป็นทีม 2) ความผูกพันต่อองค์การของผู้บริหารสถานศึกษาและครู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาพิจิตร โดยรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณารายด้าน พบว่า ด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ ด้านความเชื่อมั่น การยอมรับเป้าหมาย และค่านิยมขององค์การ รองลงมาคือ ด้านความเต็มใจเพื่อสร้างความสำเร็จขององค์การ ด้านที่มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด คือ ด้านความต้องการรักษาความเป็นสมาชิกขององค์การ 3) ความสัมพันธ์ระหว่างการเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ของสถานศึกษากับความผูกพันต่อองค์การของผู้บริหารสถานศึกษาและครู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาพิจิตร โดยรวมและรายด้าน มีความสัมพันธ์กันในทางบวก อยู่ในระดับความสัมพันธ์สูง (r =.647**) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01th
dc.language.isothen_US
dc.publisherNaresuan Universityen_US
dc.rightsNaresuan Universityen_US
dc.subjectองค์การแห่งการเรียนรู้th
dc.subjectความผูกพันต่อองค์การth
dc.subjectสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาพิจิตรth
dc.subjectLearning organizationen
dc.subjectOrganizational commitmenten
dc.subjectThe secondary education service area office Phichiten
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.subject.classificationEducationen
dc.titleA STUDY OF THE RELATIONSHIP BETWEEN LEARNING ORGANIZATION OF THE SCHOOL AND ORGANIZATIONAL COMMITMENT OF SCHOOL ADMINISTRATORS AND TEACHERS UNDER THE SECONDARY EDUCATIONAL SERVICE AREA OFFICE PHICHITen
dc.titleการศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ของสถานศึกษากับความผูกพันต่อองค์การของผู้บริหารสถานศึกษาและครู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาพิจิตรth
dc.typeIndependent Studyen
dc.typeการค้นคว้าอิสระth
dc.contributor.coadvisorSathiraporn Chaowachaien
dc.contributor.coadvisorสถิรพร เชาวน์ชัยth
dc.contributor.emailadvisorsathirapornc@nu.ac.then_US
dc.contributor.emailcoadvisorsathirapornc@nu.ac.then_US
dc.description.degreenameMaster of Education (M.Ed.)en
dc.description.degreenameการศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.)th
dc.description.degreelevelMaster's Degreeen
dc.description.degreelevelปริญญาโทth
dc.description.degreedisciplineDepartment of Educational Administration and Developmenten
dc.description.degreedisciplineภาควิชาบริหาร วิจัย และพัฒนานวัตกรรมทางการศึกษาth
Appears in Collections:คณะศึกษาศาสตร์

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
64071341.pdf3.16 MBAdobe PDFView/Open


Items in NU Digital Repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.