Please use this identifier to cite or link to this item:
http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/6542
Title: | A STUDY OF NEEDS ASSESSMENT AND GUIDELINES DEVELOPMENT THE CHARACTERISTICS OF GUIDANCE TACTHERS SECONDARY SCHOOLS IN THE SECONDARY EDUCATION SERVICE AREA OFFICE PHICHIT การศึกษาความต้องการจำเป็น และแนวทางการพัฒนาคุณลักษณะของครูแนะแนวโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาพิจิตร |
Authors: | Duangnapa Onlua ดวงนภา อ่อนเหลือ Sathiraporn Chaowachai สถิรพร เชาวน์ชัย Naresuan University Sathiraporn Chaowachai สถิรพร เชาวน์ชัย sathirapornc@nu.ac.th sathirapornc@nu.ac.th |
Keywords: | ความต้องการจำเป็น ครูแนะเเนว คุณลักษณะของครูแนะเเนว Need assessment Characteristics of Guidance teachers |
Issue Date: | 6 |
Publisher: | Naresuan University |
Abstract: | The purpose of this research was to study the needs assessment and guidelines for the development of secondary school guidance teachers' characteristics under the Office of Phichit Secondary Educational Service Area. The method of conducting the research was divided into two step, namely, the first step was to study the needs assessment of character development of secondary school guidance teachers under the Office of Phichit Secondary Educational Service Area. The samples group consisted of 155 secondary school guidance trachers. Data were analyzed using mean, standard deviation (SD) and Priority Needs Index (PNImodified) The second step was to study guidelines for development the characteristics of secondary school guidance teachers under Phichit Secondary Educational Service Area Office. The data was collected by using intervewing method which was held by the 4 qualified experts. The data were analyzed by content analysis. The results showed that.
1. The results of the study of the needs and requirements of the development of the characteristics of secondary school guidance teachers under Phichit Secondary Educational Service Area Office found that the highest scoer of the Priority Need Index was the Self-development follow by the interpersonal relations and the personality, respectively.
2. The results of the study of the guideline for development the characteristics of the secondary school guidance teachers under the Phichit Secondary Educational Service Area Office. It was found that the Educational Service Area Office should organize training, workshops. to develop the characteristics of guidance teachers School administrators must encourage guidance teachers to participate in the training. Seminars, including encouraging guidance teachers to go on a study tour of guidance in other educational institutions and the guidance teachers should form a group to exchange knowledge with the guidance teachers in the educational area to develop characteristics of leaning management and guidance operations. การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาความต้องการจำเป็น และแนวทางการพัฒนาคุณลักษณะของครูแนะแนวโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาพิจิตร วิธีดำเนินการวิจัยออกเป็น 2 ขั้นตอน ได้แก่ ขั้นตอนที่ 1 การศึกษาความต้องการจำเป็นของ การพัฒนาคุณลักษณะของครูแนะแนวโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาพิจิตร กลุ่มตัวอย่างในการวิจัยครั้งนี้ได้แก่ ครูแนะแนวของโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาพิจิตร จำนวน 155 คน วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และจัดลำดับความสำคัญของความต้องการจำเป็น ขั้นตอนที่ 2 การศึกษาแนวทางในการพัฒนาคุณลักษณะของครูแนะแนวโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาพิจิตรข้อมูลได้มาจากการสัมภาษณ์ผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 4 คน วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้การวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัย พบว่า 1. ผลการศึกษาความต้องการจำเป็นของการพัฒนาคุณลักษณะของครูแนะแนว โรงเรียนมัธยมศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาพิจิตร ในภาพรวมพบว่า ด้านการพัฒนาตนเองมีดัชนีความต้องการจำเป็นสูงสุด รองลงมา ด้านมนุษยสัมพันธ์ และด้านบุคลิกภาพ ตามลำดับ 2. ผลการศึกษาแนวทางการพัฒนาคุณลักษณะของครูแนะแนวโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาพิจิตร พบว่า สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาควรจัดอบรม ประชุมเชิงปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาคุณลักษณะของครูแนะแนว ผู้บริหารสถานศึกษาต้องส่งเสริมให้ครูแนะแนวได้มีเข้าร่วมการอบรม สัมนารวมทั้งส่งเสริมให้ครูแนะแนวได้ไปศึกษาดูงานแนะแนว ในสถานศึกษาอื่น ๆ และครูแนะแนวควรมีการรวมกลุ่มแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับครูแนะแนวในเขตพื้นที่การศึกษา เพื่อพัฒนาคุณลักษณะของการจัดการเรียนการสอนและการดำเนินงานแนะแนว |
URI: | http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/6542 |
Appears in Collections: | คณะศึกษาศาสตร์ |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
64071297.pdf | 3.21 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in NU Digital Repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.