Please use this identifier to cite or link to this item: http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/6541
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorAnantaya Khamlueen
dc.contributorอนันตญา คำลือth
dc.contributor.advisorSathiraporn Chaowachaien
dc.contributor.advisorสถิรพร เชาวน์ชัยth
dc.contributor.otherNaresuan Universityen
dc.date.accessioned2024-12-11T02:45:50Z-
dc.date.available2024-12-11T02:45:50Z-
dc.date.created2023en_US
dc.date.issued6/6/2023en_US
dc.identifier.urihttp://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/6541-
dc.description.abstractThe purposes of this research were 1) to study factors of inequality in educational institutions in the Office of Phrae Primary Educational Service Area 1 2) to study the quality of learners in the Office of Phrae Primary Education Service Area 1 3) to study the relationship of inequality in educational institutions affecting the quality of learners in the Office of Phrae Primary Education Service Area 1  4) to find predictive variables and to create predictive equations of inequalities in educational institutions that affect to learner quality in the Office of Phrae Primary Educational Service Area 1. The sample consisted of 65 administrators by purposive sampling and 186 government teachers identifying the sample with Craigie's and Morgan's tables by stratified sampling. The data was collected with a questionnaire on the factors of inequality in educational institutions that affect the quality of learners in the Office of Phrae Primary Educational Service Area 1 analyzed data by average analysis, standard deviation, Pearson's Correlation Coefficient, and Multiple Linear Regression Analysis. The factors level of inequality in educational institutions that affect the quality of learners in the Office of Phrae Primary Educational Service Area 1 was at a high level. 2) The quality of learner education in the Office of Phrae Primary Education Service Area 1 in overall level was at a high level. 3) Coefficient Correlation between variables that affect to learner quality in the Office of Phrae Primary Educational Service Area 1 found that there was a correlation coefficient between 0.366-0.435 and the factors that affect to learner quality in the Phrae Primary Educational Service Area Office 1 with the highest correlation coefficient were factors of teacher and educational personnel allocation and the factors with the lowest correlation coefficient were the domicile and environment factors and 4) results of normalized multiple regression analysis of inequality in educational institutions affecting learner quality in the Office of Phrae Primary Educational Service Area Office 1 in 1 thing was the factor for the rate of teachers and educational personnel (X3) with a multiple correlation coefficient (R) equal to 0.471 and the square of the multiplicative correlation coefficient (R2) had predictive power of 22.20 percent with a standard error of forecasting equal to 0.489, which can be written in predictive equations of raw scores and standard scores, as follows: Y = 2.262 + 0.242X3 Zy = 0.288X3en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาปัจจัยความเหลื่อมล้ำในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาแพร่ เขต 1  2) เพื่อศึกษาคุณภาพผู้เรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาแพร่ เขต 1  3) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ของปัจจัยความเหลื่อมล้ำในสถานศึกษาที่ส่งผลกับคุณภาพผู้เรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาแพร่ เขต 1 4) เพื่อค้นหาตัวแปรพยากรณ์และสร้างสมการพยากรณ์ความเหลื่อมล้ำในสถานศึกษาที่ส่งผลต่อคุณภาพผู้เรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาแพร่ เขต 1 กลุ่มตัวอย่าง ประกอบด้วย ผู้บริหาร จำนวน 65 คน โดยเลือกแบบเจาะจง และข้าราชการครู จำนวน 186 คน กำหนดกลุ่มตัวอย่างด้วยตารางสำเร็จรูปของเครจซี่และมอร์แกน โดยการสุ่มแบบแบ่งชั้น เก็บรวบรวมข้อมูลด้วยแบบสอบถามปัจจัยความเหลื่อมล้ำในสถานศึกษาที่ส่งผลต่อคุณภาพผู้เรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาแพร่ เขต 1 วิเคราะห์ข้อมูลด้วยการวิเคราะห์ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียรสัน (Pearson’s Correlation Coefficient) และการวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณแบบปกติ(Multiple Linear Regression Analysis) 1) ระดับปัจจัยความเหลื่อมล้ำในสถานศึกษาที่ส่งผลต่อคุณภาพผู้เรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาแพร่ เขต 1 ในภาพรวม อยู่ในระดับมาก 2) การศึกษาคุณภาพผู้เรียนของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาแพร่ เขต 1  ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก 3) ค่าสัมประสิทธิ์ สหสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรที่ส่งผลต่อคุณภาพผู้เรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาแพร่ เขต 1 พบว่า มีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์อยู่ระหว่าง 0.366-0.435 และปัจจัยที่ส่งผลต่อคุณภาพผู้เรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาแพร่ เขต 1 ที่มีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์สูงสุด ได้แก่ ปัจจัยด้านการจัดสรรอัตราครูและบุคลากรทางการศึกษา และปัจจัยที่มีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ต่ำที่สุด ได้แก่ ปัจจัยด้านภูมิลำเนาและสภาพแวดล้อม  และ 4) ผลการวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณแบบปกติของปัจจัยความเหลื่อมล้ำในสถานศึกษาที่ส่งผลต่อคุณภาพผู้เรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาแพร่ เขต 1 จำนวน 1 ตัว ได้แก่ คือ ปัจจัยด้านการจัดสรรอัตราครูและบุคลากรทางการศึกษา (X3) โดยมีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์พหุคูณ (R) เท่ากับ 0.471  และกำลังสองของค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์พหุคูณ (R2 )  มีอำนาจพยากรณ์ได้ร้อยละ 22.20 มีค่าความคลาดเคลื่อนมาตรฐานของการพยากรณ์เท่ากับ 0.489 ซึ่งสามารถเขียนสมการณ์พยากรณ์ในรูปคะแนนดิบและคะแนนมาตรฐาน ตามลำดับ ดังนี้  Y = 2.262 + 0.242X3 Zy = 0.288X3th
dc.language.isothen_US
dc.publisherNaresuan Universityen_US
dc.rightsNaresuan Universityen_US
dc.subjectปัจจัยความเหลื่อมล้ำในสถานศึกษาth
dc.subjectคุณภาพผู้เรียนth
dc.subjectสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาแพร่ เขต 1th
dc.subjectThe factors of educational disparities in schoolen
dc.subjectStudent qualityen
dc.subjectPhrae primary educational service area office 1en
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.subject.classificationEducationen
dc.subject.classificationEducation scienceen
dc.titleTHE FACTORS OF EDUCATIONAL DISPARITIES IN SCHOOL THAT HAVE AN AFFECT ON STUDENT QUALITY, PHRAE PRIMARY EDUCATIONAL SERVICE AREA OFFICE 1en
dc.titleปัจจัยความเหลื่อมล้ำในสถานศึกษาที่ส่งผลต่อคุณภาพผู้เรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาแพร่ เขต 1th
dc.typeIndependent Studyen
dc.typeการค้นคว้าอิสระth
dc.contributor.coadvisorSathiraporn Chaowachaien
dc.contributor.coadvisorสถิรพร เชาวน์ชัยth
dc.contributor.emailadvisorsathirapornc@nu.ac.then_US
dc.contributor.emailcoadvisorsathirapornc@nu.ac.then_US
dc.description.degreenameMaster of Education (M.Ed.)en
dc.description.degreenameการศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.)th
dc.description.degreelevelMaster's Degreeen
dc.description.degreelevelปริญญาโทth
dc.description.degreedisciplineDepartment of Educational Administration and Developmenten
dc.description.degreedisciplineภาควิชาบริหาร วิจัย และพัฒนานวัตกรรมทางการศึกษาth
Appears in Collections:คณะศึกษาศาสตร์

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
64071082.pdf3.39 MBAdobe PDFView/Open


Items in NU Digital Repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.