Please use this identifier to cite or link to this item:
http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/6539
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor | Suphakon Chanpen | en |
dc.contributor | ศุภกร จันทร์เพ็ญ | th |
dc.contributor.advisor | Thirasak Uppamaiathichai | en |
dc.contributor.advisor | ธีรศักดิ์ อุปไมยอธิชัย | th |
dc.contributor.other | Naresuan University | en |
dc.date.accessioned | 2024-12-11T02:45:49Z | - |
dc.date.available | 2024-12-11T02:45:49Z | - |
dc.date.created | 2023 | en_US |
dc.date.issued | 6/6/2023 | en_US |
dc.identifier.uri | http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/6539 | - |
dc.description.abstract | The objectives of this research were to study the guidelines for curriculum administration of educational institutes under Phitsanulok Uttaradit Secondary Education Service Area Office. Part 1 curriculum administration of educational institutes. The sample consisted of administrators and teachers in secondary schools under Phitsanulok Uttaradit Secondary Education Service Area Office, 331 people. The divided into school administrators Obtained by selective sampling of 57 people and teachers were obtained by random stratification according to the schools, 274 people. Data collection by questionnaire. Data were analyzed with mean values and the standard deviation. Part 2 study of the guidelines for curriculum administration of educational institutes under Phitsanulok Uttaradit Secondary Education Service Area Office. The group of informants includes experts, acquired by selective of 5 people. Collected data by interview form, analyze data with content analysis. Summary of research results 1. Educational results of curriculum administration of educational institutes under Phitsanulok Uttaradit Secondary Education Service Area Office. Overall, there was a high level of practice. When considering each aspect, it was found that the setting guidelines for measurement and evaluation have the highest practice and basic data analysis of curriculum administration have the lowest practice. 2. Study results of curriculum administration of educational institutes under Phitsanulok Uttaradit Secondary Education Service Area Office, it was found that the educational service area office should provide training, inviting expert speakers to provide knowledge in analyzing basic information necessary for curriculum management of educational institutions in accordance with the policy, objectives of national education and the needs of the community, parents and students. Encourage teachers to learn Active Learning by applying digital literacy technology to develop the process of measuring and evaluating, supervising, monitoring and evaluating the use of the curriculum regularly. Prepare a manual for using electronic courses (Electronic Book), so that information can be conveniently accessed through various platforms. | en |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ของการวิจัยศึกษาแนวทางการบริหารหลักสูตรในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาพิษณุโลก อุตรดิตถ์ ขั้นตอนที่ 1 การศึกษาการบริหารหลักสูตรในสถานศึกษา กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษาและครูในโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาพิษณุโลก อุตรดิตถ์ จำนวน 331 คน แบ่งเป็นผู้บริหารสถานศึกษา ได้มาโดยการเลือกแบบเจาะจง จำนวน 57 คน และครูได้มาโดยการสุ่มแบบแบ่งชั้นตามจำนวนสถานศึกษา จำนวน 274 คน เก็บรวบรวมข้อมูลด้วยแบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลด้วยค่าเฉลี่ย และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และขั้นตอนที่ 2 การศึกษาแนวทางการบริหารหลักสูตรในสถานศึกษา กลุ่มผู้ให้ข้อมูล ได้แก่ ผู้ทรงคุณวุฒิ ได้มาโดยการเลือกแบบเจาะจง จำนวน 5 คน เก็บรวบรวมข้อมูลด้วยแบบสัมภาษณ์ วิเคราะห์ข้อมูลด้วยการวิเคราะห์เนื้อหา สรุปผลการวิจัย 1. ผลการศึกษาการบริหารหลักสูตรในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาพิษณุโลก อุตรดิตถ์ ในภาพรวมมีการปฏิบัติอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณารายด้าน พบว่า ด้านกำหนดแนวทางการวัดและประเมินผล มีการปฏิบัติสูงสุด และด้านการวิเคราะห์ข้อมูลพื้นฐานของการบริหารหลักสูตร มีการปฏิบัติต่ำสุด 2. ผลการศึกษาแนวทางการบริหารหลักสูตรในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาพิษณุโลก อุตรดิตถ์ พบว่า สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาควรจัดให้มีการอบรม เชิญวิทยากรที่มีความเชี่ยวชาญมาให้ความรู้ในการวิเคราะห์ข้อมูลพื้นฐานที่จำเป็นต่อการบริหารหลักสูตรสถานศึกษาให้สอดคล้องกับนโยบาย เป้าประสงค์ของการศึกษาชาติ และความต้องการของชุมชน ผู้ปกครอง และนักเรียน ส่งเสริมให้ครูจัดการเรียนรู้ Active Learning โดยการนำเทคโนโลยี Digital literacy มาใช้เพื่อพัฒนากระบวนการวัดผลประเมินผล มีการนิเทศ ติดตาม ประเมินผลการใช้หลักสูตรอย่างสม่ำเสมอ จัดทำคู่มือการนำหลักสูตรไปใช้แบบอิเล็กทรอนิกส์ Electronic Book เพื่อให้สามารถเข้าถึงข้อมูลผ่าน Platform ต่างๆ ได้อย่างรวดเร็ว | th |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | Naresuan University | en_US |
dc.rights | Naresuan University | en_US |
dc.subject | การบริหารหลักสูตร,หลักสูตรสถานศึกษา,สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา,จังหวัดพิษณุโลก,จังหวัดอุตรดิตถ์ | th |
dc.subject | Curriculum Administration Educational Institution Curriculum Secondary Educational Service Area Office Phitsanulok Province Uttaradit Province | en |
dc.subject.classification | Social Sciences | en |
dc.subject.classification | Education | en |
dc.title | The Guidelines for curriculum administration of educational institutes under Phitsanulok Uttaradit Secondary Education Service Area Office | en |
dc.title | แนวทางการบริหารหลักสูตรในสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาพิษณุโลก อุตรดิตถ์ | th |
dc.type | Independent Study | en |
dc.type | การค้นคว้าอิสระ | th |
dc.contributor.coadvisor | Thirasak Uppamaiathichai | en |
dc.contributor.coadvisor | ธีรศักดิ์ อุปไมยอธิชัย | th |
dc.contributor.emailadvisor | thirasaku@nu.ac.th | en_US |
dc.contributor.emailcoadvisor | thirasaku@nu.ac.th | en_US |
dc.description.degreename | Master of Education (M.Ed.) | en |
dc.description.degreename | การศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.) | th |
dc.description.degreelevel | Master's Degree | en |
dc.description.degreelevel | ปริญญาโท | th |
dc.description.degreediscipline | Department of Educational Administration and Development | en |
dc.description.degreediscipline | ภาควิชาบริหาร วิจัย และพัฒนานวัตกรรมทางการศึกษา | th |
Appears in Collections: | คณะศึกษาศาสตร์ |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
64070931.pdf | 2.79 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in NU Digital Repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.