Please use this identifier to cite or link to this item: http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/6529
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorKrit Phianmaken
dc.contributorกฤษฎิ์ เพียรมากth
dc.contributor.advisorThitiya Bongkotpheten
dc.contributor.advisorธิติยา บงกชเพชรth
dc.contributor.otherNaresuan Universityen
dc.date.accessioned2024-12-11T02:45:46Z-
dc.date.available2024-12-11T02:45:46Z-
dc.date.created2023en_US
dc.date.issued28/3/2023en_US
dc.identifier.urihttp://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/6529-
dc.description.abstractThe purposes of this research were 1) to study the learning management of phenomenon-based learning (PhBL) for enhancing scientific literacy of humans and climate change and 2) to study the development of scientific literacy after implementing phenomenon-based learning. This research was Classroom Action Research. The participants were 25 students in grade 7 from an opportunity expansion schools in Tak province in the second semester of academic year 2021. The research instruments consisted of three PhBL lesson plans, a reflective learning management form, a worksheet, and a scientific literacy test. The data were analyzed by using both qualitative and quantitative data analysis, which included mean, percentage and content analysis. For the results of the study, 1) the effective implementation of phenomenon-based learning could enhance scientific literacy in humans and climate change was described as follows: Teachers choose to present phenomena that have contexts or situations close to the students. not too complicated Use questions to encourage learners to make connections. Give students the opportunity to critique and explain that phenomenon with scientific data. From reliable sources to enable students to think critically and reason from scientific truth. who have an understanding of natural phenomena and can be applied in practice 2) The students demonstrated the highest level of competence in the evaluating and designing scientific enquiry was at 40.00 percent, followed by competence in explaining phenomena scientifically was at 36.80 percent, and the interpreting data and evidence scientifically was at 24.40 percent, respectively.en
dc.description.abstractบทความวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาแนวทางการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปรากฎการณ์เป็นฐาน เรื่อง มนุษย์และการเปลี่ยนแปลงลมฟ้าอากาศเพื่อพัฒนาความฉลาดรู้ด้านวิทยาศาสตร์ และ 2) เพื่อศึกษาผลการพัฒนาความฉลาดรู้ด้านวิทยาศาสตร์ โดยใช้ปรากฎการณ์เป็นฐาน เรื่องมนุษย์และการเปลี่ยนแปลงลมฟ้าอากาศ การวิจัยนี้เป็นวิจัยเชิงปฏิบัติการในชั้นเรียน กลุ่มเป้าหมาย คือ นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนขยายโอกาสขนาดกลางแห่งหนึ่งในจังหวัดตาก ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564 จำนวน 25 คน โดยการคัดเลือกแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ แผนการจัดการเรียนรู้จำนวน 3 แผน แบบสะท้อนผลการจัดการเรียนรู้ ใบกิจกรรมและแบบวัดความฉลาดรู้ด้านวิทยาศาสตร์ ทำการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพ ได้แก่ การวิเคราะห์ด้านเนื้อหา และการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณได้แก่ ค่าเฉลี่ย และ ร้อยละ ผลการวิจัยพบว่า 1) แนวทางการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปรากฎการณ์เป็นฐาน เรื่อง มนุษย์และการเปลี่ยนแปลงลมฟ้าอากาศ เพื่อพัฒนาความฉลาดรู้ด้านวิทยาศาสตร์ ควรมีลักษณะดังนี้ ครูเลือกนำเสนอปรากฏการณ์ที่มีบริบทหรือสถานการณ์ใกล้ตัวกับนักเรียน ไม่ซับซ้อนจนเกินไป ใช้คำถามกระตุ้นให้นักเรียนเกิดการเชื่อมโยงความรู้ เปิดโอกาสให้นักเรียนได้ร่วมกันวิพากษ์และอธิบายถึงปรากฏการณ์นั้นด้วยข้อมูลทางวิทยาศาสตร์ จากแหล่งข้อมูลที่น่าเชื่อถือเพื่อให้นักเรียนได้เกิดการคิดวิเคราะห์และให้เหตุผลจากหลักความจริงทางวิทยาศาสตร์ ที่มีความเข้าใจเกี่ยวกับปรากฏการณ์ธรรมชาติและสามารถนำไปประยุกต์ใช้ได้จริง 2) นักเรียนแสดงสมรรถนะการประเมินและออกแบบกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์ได้สูงที่สุด คิดเป็นร้อยละ 40.00 รองลงมาคือ สมรรถนะการอธิบายปรากฏการณ์ในเชิงวิทยาศาสตร์ คิดเป็นร้อยละ 36.80 และสมรรถนะการแปลความหมายข้อมูลและประจักษ์พยานในเชิงวิทยาศาสตร์ คิดเป็นร้อยละ 24.40 ตามลำดับth
dc.language.isothen_US
dc.publisherNaresuan Universityen_US
dc.rightsNaresuan Universityen_US
dc.subjectการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปรากฏการณ์เป็นฐาน, ความฉลาดรู้ ด้านวิทยาศาสตร์, มนุษย์และการเปลี่ยนแปลงลมฟ้าอากาศth
dc.subjectPhenomenon-Based Learningen
dc.subjectScientific Literacyen
dc.subjectHuman and Climate Changeen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.subject.classificationEducationen
dc.subject.classificationEducation scienceen
dc.titlePhenomenon-Based Learning Management for Developing Scientific Literacy on Human and Climate Change of Grade 7 Studentsen
dc.titleการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปรากฏการณ์เป็นฐานเพื่อพัฒนาความฉลาดรู้ด้านวิทยาศาสตร์ เรื่อง มนุษย์และการเปลี่ยนแปลงลมฟ้าอากาศ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1th
dc.typeIndependent Studyen
dc.typeการค้นคว้าอิสระth
dc.contributor.coadvisorThitiya Bongkotpheten
dc.contributor.coadvisorธิติยา บงกชเพชรth
dc.contributor.emailadvisorthitiyab@nu.ac.then_US
dc.contributor.emailcoadvisorthitiyab@nu.ac.then_US
dc.description.degreenameMaster of Education (M.Ed.)en
dc.description.degreenameการศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.)th
dc.description.degreelevelMaster's Degreeen
dc.description.degreelevelปริญญาโทth
dc.description.degreedisciplineDepartment of Educationen
dc.description.degreedisciplineภาควิชาการศึกษาth
Appears in Collections:คณะศึกษาศาสตร์

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
63090121.pdf8.05 MBAdobe PDFView/Open


Items in NU Digital Repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.