Please use this identifier to cite or link to this item: http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/6502
Title: THE DEVELOPMENT LEARNING ACTIVITY USING ACTIVITY - BASED LEARNING WITH GPAS 5 STEPS LEARNING PROCESS TO ENHANCE THE COLLABORATIVE PROBLEM SOLVING COMPETENCY IN PHYSICS SUBJECT APPROACH ON CURVILINEAR MOTION FOR MATHAYOMSUKSA 4 STUDENTS
การพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้กิจกรรมเป็นฐานร่วมกับกระบวนการเรียนรู้แบบ GPAS 5 Steps เพื่อพัฒนาสมรรถนะการแก้ปัญหาแบบร่วมมือ รายวิชาฟิสิกส์ เรื่อง การเคลื่อนที่แนวโค้ง สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4
Authors: Siriwan Suradom
ศิริวรรณ สุระดม
Saifon Vibulrangson
สายฝน วิบูลรังสรรค์
Naresuan University
Saifon Vibulrangson
สายฝน วิบูลรังสรรค์
saifonv@nu.ac.th
saifonv@nu.ac.th
Keywords: การจัดการเรียนรู้โดยใช้กิจกรรมเป็นฐาน
กระบวนการเรียนรู้แบบ GPAS 5 Steps
สมรรถนะการแก้ปัญหาแบบร่วมมือ
Activity - based learning
GPAS 5 steps learning process
The Collaborative Problem - Solving Competency
Issue Date:  17
Publisher: Naresuan University
Abstract: The objectives of this research were to: 1) create and determine the effectiveness, 2) study the experimental results, and 3) study the satisfaction towards learning activities using activity – based learning GPAS 5 steps learning process to enhance the collaborative problem - solving competency in Physics subject approach on curvilinear motions for Mathayomsuksa 4 students. The research process involved three stages: First, creation and effectiveness stage, the research instruments were the appropriateness evaluation form of the learning activity plans, Rubric scoring of the collaborative problem - solving competency and the collaborative problem- solving competency test are 2 situations. Second, trial stage, the research participants included 14 Mathayomsuksa 4 students at Boryangwitthaya School, the research instruments was the learning activity plans. And finally, the third stage, to study student satisfaction, the research instruments were assessment of students satisfaction form. The data were analyed by mean, S.D., t-test dependent, t-test for one sample and content analyed. The results of the research were as follows: 1) Create a total of 4 learning plans. Activities were suitability at the very good level and the result of effectiveness equal 0.67 which met the criteria acceptable. 2) The students had developed higher collaborative problem - solving competency. In the beginning, students didn't show this competency so they were motivated by an interesting situation. Next phase, students were trained until they were fluent in the collaborative problem - solving competency. After finishing all lessons, students had the collaborative problem - solving competency. As the posttest was higher than the pretest and higher than the determined criterion of 70 percent at the statical significance .05. 3) The students had the satisfaction for learning management by activity – based learning with GPAS 5 Steps at very good level in total parts.
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) สร้างและหาประสิทธิผล 2) ศึกษาผลทดลองใช้ และ     3) ศึกษาความพึงพอใจที่มีต่อกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้กิจกรรมเป็นฐานร่วมกับกระบวนการเรียนรู้แบบ GPAS 5 Steps เพื่อพัฒนาสมรรถนะการแก้ปัญหาแบบร่วมมือ รายวิชาฟิสิกส์ เรื่อง การเคลื่อนที่แนวโค้ง สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โดยใช้การวิจัยและพัฒนาดำเนินการ 3 ขั้นตอน ได้แก่ 1) ขั้นสร้างและหาประสิทธิผล เครื่องมือที่ใช้ ได้แก่ (1) แบบประเมินความเหมาะสมของแผนการจัดการเรียนรู้ (2) เกณฑ์การให้คะแนนรูบริกสมรรถนะการแก้ปัญหาแบบร่วมมือและ (3) แบบวัดสมรรถนะการแก้ปัญหาแบบร่วมมือ จำนวน 2 สถานการณ์ 2) ขั้นทดลองใช้ โดยทดลองใช้กับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนบ่อยางวิทยา จำนวน 14 คน เครื่องมือที่ใช้ คือ แผนการจัดการเรียนรู้ และ 3) ขั้นศึกษาความพึงพอใจของนักเรียน เครื่องมือที่ใช้ คือ แบบประเมินความพึงพอใจของนักเรียน การวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ หาค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบ t-test dependent การทดสอบ t-test for one sample และการวิเคราะห์เชิงเนื้อหา ผลวิจัยพบว่า 1) สร้างแผนการจัดการเรียนรู้ได้ทั้งหมด 4 แผน และมีความเหมาะสมในภาพรวมอยู่ในระดับดีมาก และกิจกรรมการเรียนรู้มีค่าดัชนีประสิทธิผล 0.67 ซึ่งเป็นไปตามเกณฑ์ที่ยอมรับได้ 2) นักเรียนมีพัฒนาการด้านสมรรถนะการแก้ปัญหาแบบร่วมมือสูงขึ้น โดยในระยะแรกนักเรียนยังไม่สามารถแสดงสมรรถนะการแก้ปัญหาแบบร่วมมือ ต้องอาศัยการกระตุ้นจากสถานการณ์ที่น่าสนใจ ระยะถัดไปนักเรียนถูกฝึกจนเกิดสมรรถนะการแก้ปัญหาแบบร่วมมือขึ้น และเมื่อเรียนจบจึงทำให้นักเรียนมีสมรรถนะการแก้ปัญหาแบบร่วมมือ ซึ่งสมรรถนะหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน และสูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 70 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3) นักเรียนมีความพึงพอใจต่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้กิจกรรมเป็นฐานร่วมกับกระบวนการเรียนรู้แบบ GPAS 5 Steps ในภาพรวมอยู่ในระดับดีมาก
URI: http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/6502
Appears in Collections:คณะศึกษาศาสตร์

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
65091010.pdf4.11 MBAdobe PDFView/Open


Items in NU Digital Repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.