Please use this identifier to cite or link to this item:
http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/6499
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor | Ratee Somrup | en |
dc.contributor | ราตรี สมรูป | th |
dc.contributor.advisor | Chamnan Panawong | en |
dc.contributor.advisor | ชำนาญ ปาณาวงษ์ | th |
dc.contributor.other | Naresuan University | en |
dc.date.accessioned | 2024-11-20T04:50:40Z | - |
dc.date.available | 2024-11-20T04:50:40Z | - |
dc.date.created | 2024 | en_US |
dc.date.issued | 23/6/2024 | en_US |
dc.identifier.uri | http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/6499 | - |
dc.description.abstract | The purposes of this research were 1) to create and find the effectiveness index of learning by using the open approach and infographic media on data presentation, 2) to compare the mathematics communication skill, before and after using the open approach and infographic media on data presentation, and 3) to study the satisfaction of the students with learning by using the open approach and infographic media on data presentation. The purposive samples in the study were 30 of grade six students at Bannongkhaw School, Phichit. The study was conducted by 1) the five lesson plans of using the open approach and infographic media on data presentation, 2) the mathematics communication skill test, and 3) the satisfaction questionnaire. The data were analyzed by means, standard deviation, and t-test dependent sample. The result found that 1) there were 4 steps of using the open approach and infographic media on data presentation: presenting the problem on infographic media, learning and solving the problem, debating and comparing the ideas, and summarizing and connecting the ideas, and the effectiveness index was 0.5905 2) After using the open approach and infographic media on data presentation, the post-test of mathematics communication skill was higher than the pre-test with statistical significance at .05 and 3) the satisfaction of students about learning by using the open approach and infographic media was at the high level. | en |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อสร้างและหาดัชนีประสิทธิผลของกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้วิธีการแบบเปิดร่วมกับสื่ออินโฟกราฟฟิก เรื่องการนำเสนอข้อมูล 2) เพื่อเปรียบเทียบทักษะการสื่อสารทางคณิตศาสตร์ก่อนและหลังได้รับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้วิธีการแบบเปิดร่วมกับสื่ออินโฟกราฟฟิก เรื่องการนำเสนอข้อมูล และ 3) เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้วิธีการแบบเปิด ร่วมกับสื่ออินโฟกราฟฟิก กลุ่มตัวอย่างในงานวิจัยนี้ ได้แก่ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนบ้านหนองขาว จังหวัดพิจิตร จำนวน 30 คน ซึ่งได้มาด้วยวิธีการเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง (Purposive sampling) เครื่องมือที่ใช้ในงานวิจัยประกอบด้วย 1) กิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้วิธีการแบบเปิดร่วมกับสื่ออินโฟกราฟฟิก เรื่องการนำเสนอข้อมูล จำนวน 5 แผน 2) แบบทดสอบวัดทักษะการสื่อสารทางคณิตศาสตร์ และ 3) แบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติทดสอบทีแบบไม่อิสระ (t-test for dependent samples) ผลการวิจัย พบว่า 1) กิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้วิธีการแบบเปิดร่วมกับสื่ออินโฟกราฟฟิก เรื่องการนำเสนอข้อมูล มีกระบวนการเรียนรู้ 4 ขั้นตอน ได้แก่ ขั้นการนำเสนอปัญหาด้วยสื่ออินโฟกราฟฟิก ขั้นการเรียนรู้และแก้ปัญหาด้วยตนเอง ขั้นการอภิปรายและเปรียบเทียบแนวคิด และขั้นสรุปและเชื่อมโยงแนวคิด และเมื่อนำไปทดลองใช้มีดัชนีประสิทธิผล เท่ากับ 0.5905 2) ทักษะการสื่อสารทางคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 หลังเรียนด้วยกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้วิธีการแบบเปิดร่วมกับสื่ออินโฟกราฟฟิกสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และ 3) ความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้วิธีการแบบเปิดร่วมกับสื่ออินโฟกราฟฟิก โดยรวมอยู่ในระดับมาก | th |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | Naresuan University | en_US |
dc.rights | Naresuan University | en_US |
dc.subject | กิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้วิธีการแบบเปิด, สื่ออินโฟกราฟฟิก, ทักษะการสื่อสารทางคณิตศาสตร์ | th |
dc.subject | Open Approach Infographic Media Mathematics Communication Skill | en |
dc.subject.classification | Social Sciences | en |
dc.subject.classification | Education | en |
dc.subject.classification | Training for teachers at basic levels | en |
dc.title | The development learning activities Using Open Approach and Infographic Media to Develop Mathematics Communication Skill on Data Presentation for Grade Six Students | en |
dc.title | การพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้วิธีการแบบเปิด (Open Approach) ร่วมกับสื่ออินโฟกราฟฟิก เพื่อส่งเสริมทักษะการสื่อสารทางคณิตศาสตร์ เรื่องการนำเสนอข้อมูล สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 | th |
dc.type | Independent Study | en |
dc.type | การค้นคว้าอิสระ | th |
dc.contributor.coadvisor | Chamnan Panawong | en |
dc.contributor.coadvisor | ชำนาญ ปาณาวงษ์ | th |
dc.contributor.emailadvisor | chamnanp@nu.ac.th | en_US |
dc.contributor.emailcoadvisor | chamnanp@nu.ac.th | en_US |
dc.description.degreename | Master of Education (M.Ed.) | en |
dc.description.degreename | การศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.) | th |
dc.description.degreelevel | Master's Degree | en |
dc.description.degreelevel | ปริญญาโท | th |
dc.description.degreediscipline | Department of Educational Administration and Development | en |
dc.description.degreediscipline | ภาควิชาบริหาร วิจัย และพัฒนานวัตกรรมทางการศึกษา | th |
Appears in Collections: | คณะศึกษาศาสตร์ |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
65090846.pdf | 6.19 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in NU Digital Repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.