Please use this identifier to cite or link to this item: http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/6497
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorPhattaraporn Charoensinen
dc.contributorภัทราภรณ์ เจริญศิลป์th
dc.contributor.advisorChamnan Panawongen
dc.contributor.advisorชำนาญ ปาณาวงษ์th
dc.contributor.otherNaresuan Universityen
dc.date.accessioned2024-11-20T04:50:40Z-
dc.date.available2024-11-20T04:50:40Z-
dc.date.created2024en_US
dc.date.issued17/11/2024en_US
dc.identifier.urihttp://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/6497-
dc.description.abstractThe main objectives of this research were the development of learning activity by 6E learning on STEAM Education with problem-based learning to enhancing scientific inquiry process evaluating and design competency inquiry based on the topic of chemical reaction for grade 9 students. There were sub objectives: 1) To create and determine the effectiveness of 6E learning on STEAM Education with problem-based learning to enhancing scientific inquiry process evaluating and design competency inquiry based on the topic of chemical reaction for grade 9 students. 2) Studying the learning behavior and development of scientific inquiry process evaluating and design competency inquiry based in the assessment and design of scientific inquiry processes during learning management 3) Studying the satisfaction about learning activities by 6E learning on STEAM Education with problem-based learning. The research process involved three stages: 1) creation and effectiveness stage. 2) Trial stage the research participants included 39 9 grade students at Uthaiwitthayakhom School. 3) Studying the satisfaction about learning activities by 6E learning on STEAM Education with problem-based questioning techniques. This learning activities were considered as appropriate by 5 experts and test of effectiveness for 9 grade students at Uthaiwitthayakhom School in Term 1 academic year 2024 the sample group, 37 grade 9 students of Uthaiwitthayakhom School who were chosen by specific selection method via One Group Pretest Posttest Design. The instrument tools were learning activities by 6E learning on STEAM Education with problem-based to enhance Scientific Inquiry Process Evaluating and Design Competency Inquiry on the topic of chemical reaction for grade 9 students, Scientific Inquiry Process Evaluating and Design Competency Inquiry test, and student satisfaction questionnaire about learning activities by 6E learning on STEAM Education. The results of this research were as follows: 1) The result of appropriate learning activities by 6E learning on STEAM Education with problem-based to enhance Scientific Inquiry Process Evaluating and Design Competency Inquiry on the topic of chemical reaction for grade 9 students was, Get 4 activities, each activity consists of 6 steps ; Step 1 Problem Identification for engagement, Step 2 Exploration, Step 3 Explain and understand the problem, Step 4 Planning and engineering, Step 5 Synthesizing knowledge and design improvement and summarizing results, Step 6 Summary and evaluation and the effectiveness was 0.6153 or 61.53 percent 2) The Results of the study of learning behavior during study when passing through all 6 steps of learning activities Scientific Inquiry Process Evaluating and Design Competency Inquiry after learning by 6E learning on STEAM Education with problem-based was higher than before learning and Post-test scores was higher than the standard with statistical 70 percent significance at the level of .05 3) The satisfaction of grade 9 students about learning activities 6E learningon STEAM Education with problem-based was in high levelsen
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายหลักเพื่อการพัฒนาการจัดการเรียนรู้โดยใช้การออกแบบ 6E ตามแนวคิด STEAM ร่วมกับปัญหาเป็นฐานเพื่อส่งเสริมสมรรถนะทางวิทยาศาสตร์ด้านการประเมินและการออกแบบกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์ เรื่อง ปฏิกิริยาเคมี สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดยมีจุดมุ่งหมาย ดังนี้ 1) เพื่อสร้างและหาดัชนีประสิทธิผลของการจัดการเรียนรู้โดยใช้การออกแบบ 6E ตามแนวคิด STEAM ร่วมกับปัญหาเป็นฐานเพื่อส่งเสริมสมรรถนะทางวิทยาศาสตร์ด้านการประเมินและการออกแบบกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์ เรื่อง ปฏิกิริยาเคมี สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 2) เพื่อศึกษาผลของการจัดการเรียนรู้โดยใช้การออกแบบ 6E ตามแนวคิด STEAM ร่วมกับปัญหาเป็นฐานเพื่อส่งเสริมสมรรถนะทางวิทยาศาสตร์ด้านการประเมินและการออกแบบกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์ เรื่อง ปฏิกิริยาเคมี สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 3) เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการจัดการเรียนรู้โดยใช้การออกแบบ 6E ตามแนวคิด STEAM ร่วมกับปัญหาเป็นฐานเพื่อส่งเสริมสมรรถนะทางวิทยาศาสตร์ด้านการประเมินและการออกแบบกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์ เรื่อง ปฏิกิริยาเคมี สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ดำเนินการโดยใช้กระบวนการวิจัยและพัฒนา 3 ขั้นตอน ดังนี้ ขั้นตอนที่ 1 การสร้างและหาดัชนีประสิทธิผลของการจัดการเรียนรู้โดยใช้การออกแบบ 6E ตามแนวคิด STEAM ขั้นตอนที่ 2 การทดลองใช้การจัดการเรียนรู้โดยใช้การออกแบบ 6E ตามแนวคิด STEAM ร่วมกับปัญหาเป็นฐาน ขั้นตอนที่ 3 การศึกษาความพึงพอใจที่มีต่อการจัดการเรียนรู้โดยใช้การออกแบบ 6E ตามแนวคิด STEAM ร่วมกับปัญหาเป็นฐาน พิจารณาความเหมาะสมของกิจกรรมการเรียนรู้ โดยผู้เชี่ยวชาญจำนวน 5 คน และทดสอบประสิทธิผลกับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนอุทัยวิทยาคม ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2567 จำนวน 39 คน หลังจากนั้นนำมาใช้กับกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนอุทัยวิทยาคม จำนวน 37 คนซึ่งได้มาจากการเลือกแบบเจาะจง โดยใช้แบบแผนการวิจัยแบบ One Group Pretest Posttest Design เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ การจัดการเรียนรู้โดยใช้การออกแบบ 6E ตามแนวคิด STEAM ร่วมกับปัญหาเป็นฐานเพื่อส่งเสริมสมรรถนะทางวิทยาศาสตร์ด้านการประเมินและการออกแบบกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์ เรื่อง ปฏิกิริยาเคมี สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 แบบวัดสมรรถนะทางวิทยาศาสตร์ แบบประเมินความพึงพอใจที่มีต่อการจัดการเรียนรู้โดยใช้การออกแบบ 6E ตามแนวคิด STEAM ร่วมกับปัญหาเป็นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3  ผลการวิจัยพบว่า 1) ผลการสร้างและหาดัชนีประสิทธิผลของกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้การออกแบบ 6E ตามแนวคิด STEAM ร่วมกับปัญหาเป็นฐานเพื่อส่งเสริมสมรรถนะทางวิทยาศาสตร์ด้านการประเมินและการออกแบบกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์เรื่อง ปฏิกิริยาเคมี กับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 พบว่า สมรรถนะทางวิทยาศาสตร์ด้านการประเมินและการออกแบบกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์เรื่อง ปฏิกิริยาเคมี มีกิจกรรมการเรียนรู้ทั้งหมด 4 กิจกรรม ในแต่ละกิจกรรมประกอบไปด้วย 6 ขั้นตอน ได้แก่ ขั้นที่ 1 ขั้นกำหนดปัญหาเพื่อสร้างความสนใจ ขั้นที่ 2 ขั้นสำรวจตรวจสอบ ขั้นที่ 3 ขั้นอธิบายและเข้าใจปัญหา ขั้นที่ 4 ขั้นดำเนินการออกแบบเชิงวิศวกรรม ขั้นที่ 5 ขั้นสังเคราะห์ความรู้ ปรับปรุงและลงข้อสรุป ขั้นที่ 6 ขั้นสรุปและประเมินผล และมีค่าดัชนีประสิทธิผล 0.6153 คิดเป็นร้อยละ 61.53 2) ผลการศึกษาพฤติกรรมการเรียนรู้ระหว่างเรียนเมื่อผ่านกิจกรรมการเรียนรู้ทั้ง 6 ขั้นตอน พบว่า นักเรียนมีสมรรถนะทางวิทยาศาสตร์ด้านการประเมินและการออกแบบกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน และคะแนนหลังเรียนสูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 70 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3) ผลการประเมินความพึงพอใจของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ที่มีต่อการจัดการเรียนรู้โดยใช้การออกแบบ 6E ตามแนวคิด STEAM ร่วมกับปัญหาเป็นฐาน พบว่า ในภาพรวมนักเรียนมีความพึงพอใจในระดับดีมากth
dc.language.isothen_US
dc.publisherNaresuan Universityen_US
dc.rightsNaresuan Universityen_US
dc.subjectการจัดการเรียนรู้โดยการออกแบบ 6E ตามแนวคิด STEAM การจัดการเรียนรู้โดยปัญหาเป็นฐาน สมรรถนะทางวิทยาศาสตร์ด้านการประเมินและการออกแบบกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์th
dc.subjectLearning activity by 6E learning on steam education Learning activity by Problem-based learning Scientific Inquiry Process Evaluating and Design Competency Inquiryen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.subject.classificationEducationen
dc.titleTHE DEVELOPMENT OF LEARNING ACTIVITY BY 6E LEARNING ON STEAM EDUCATION WITH PROBLEM-BASED LEARNING TO ENHANCING SCIENTIFIC INQUIRY PROCESS EVALUATING AND DESIGN COMPETENCY INQUIRY BASED ON THE TOPIC OF CHEMICAL REACTION FOR GRADE 9 STUDENTSen
dc.titleการพัฒนาการจัดการเรียนรู้โดยใช้การออกแบบ 6E ตามแนวคิด STEAM ร่วมกับปัญหาเป็นฐานเพื่อส่งเสริมสมรรถนะทางวิทยาศาสตร์ด้านการประเมินและการออกแบบกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์ เรื่อง ปฏิกิริยาเคมี สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3th
dc.typeIndependent Studyen
dc.typeการค้นคว้าอิสระth
dc.contributor.coadvisorChamnan Panawongen
dc.contributor.coadvisorชำนาญ ปาณาวงษ์th
dc.contributor.emailadvisorchamnanp@nu.ac.then_US
dc.contributor.emailcoadvisorchamnanp@nu.ac.then_US
dc.description.degreenameMaster of Education (M.Ed.)en
dc.description.degreenameการศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.)th
dc.description.degreelevelMaster's Degreeen
dc.description.degreelevelปริญญาโทth
dc.description.degreedisciplineDepartment of Educational Administration and Developmenten
dc.description.degreedisciplineภาควิชาบริหาร วิจัย และพัฒนานวัตกรรมทางการศึกษาth
Appears in Collections:คณะศึกษาศาสตร์

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
65090785.pdf5.95 MBAdobe PDFView/Open


Items in NU Digital Repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.