Please use this identifier to cite or link to this item: http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/6496
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorPattarawadee Chuenrueangen
dc.contributorภัทรวดี ชื่นเรืองth
dc.contributor.advisorSudakarn Patamadiloken
dc.contributor.advisorสุดากาญจน์ ปัทมดิลกth
dc.contributor.otherNaresuan Universityen
dc.date.accessioned2024-11-20T04:50:39Z-
dc.date.available2024-11-20T04:50:39Z-
dc.date.created2024en_US
dc.date.issued23/6/2024en_US
dc.identifier.urihttp://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/6496-
dc.description.abstractThe objectives of this research were 1) to compare English reading comprehension skill before and after using SQ6R technique of grade 7 students at Khaosai Thapklo Phittaya School; and 2) to study the students’ satisfaction toward learning management to improve their reading comprehension skill with SQ6R technique. This is experimental research. The samples were 35 persons in Matthayom 1/1 selected by cluster simple random sampling. The instruments using for data collection were 5 lesson plans, English reading comprehension assessment tests; and the questionnaire for collecting the students’ satisfaction toward the learning management by using SQ6R technique. The statistics used for data analysis included Mean, Standard Deviation, and t-test. The results of findings were as follows 1) English reading comprehension skill of students after learning with SQ6R technique was significantly higher than before at the level of 0.5 and 2) The students’ satisfaction toward the learning management to improve their reading comprehension skill with SQ6R technique; overall, students' opinions on learning management through the SQ6R technique were at the highest level in all aspects, with a mean of 4.76 and a standard deviation (S.D) of 0.42 were at the highest level.en
dc.description.abstractงานวิจัยครั้งนี้มีจุดมุ่งหมาย คือ 1) เพื่อเปรียบเทียบทักษะการอ่านภาษาอังกฤษเพื่อความเข้าใจ ก่อนเรียนและหลังเรียนโดยใช้เทคนิคการอ่านแบบ SQ6R ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเขาทรายทับคล้อพิทยา และ 2) เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้เทคนิคการอ่านแบบ SQ6R เป็นการวิจัยเชิงทดลอง กลุ่มตัวอย่างการวิจัย ได้แก่ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1/1 จำนวน 35 คน ใช้วิธีสุ่มกลุ่มตัวอย่างแบบอย่างง่าย เครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ 1) แผนการจัดการเรียนรู้จำนวน 5 แผน 2) แบบทดสอบวัดทักษะการอ่านภาษาอังกฤษเพื่อความเข้าใจจำนวน 2 ฉบับ และ 3) แบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้เทคนิคการอ่านแบบ SQ6R สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่า t โดยผลการวิจัยพบว่า 1) ทักษะการอ่านภาษาอังกฤษเพื่อความเข้าใจของนักเรียนเมื่อเปรียบเทียบคะแนนก่อนเรียนและหลังเรียนโดยใช้เทคนิคการอ่านแบบ SQ6R พบว่าคะแนนสอบหลังเรียนสูงขึ้นกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และ 2) ความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้เทคนิคการอ่านแบบ SQ6R โดยภาพรวมมีความพึงพอใจอยู่ในระดับมากที่สุด โดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.76 และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.42th
dc.language.isothen_US
dc.publisherNaresuan Universityen_US
dc.rightsNaresuan Universityen_US
dc.subjectการพัฒนาทักษะการอ่านเพื่อความเข้าใจth
dc.subjectการอ่านภาษาอังกฤษเพื่อความเข้าใจth
dc.subjectเทคนิคการอ่านแบบ SQ6Rth
dc.subjectA Development of English Reading Comprehension Skillen
dc.subjectEnglish Reading Comprehensionen
dc.subjectSQ6R techniqueen
dc.subject.classificationArts and Humanitiesen
dc.subject.classificationEducationen
dc.subject.classificationTraining for teachers at basic levelsen
dc.titleA DEVELOPMENT OF ENGLISH READING COMPREHENSION SKILL BY USING SQ6R TECHNIQUE FOR GRADE-7 STUDENTS AT KHAOSAI THAPKLO PHITTAYA SCHOOLen
dc.titleการพัฒนาทักษะการอ่านภาษาอังกฤษเพื่อความเข้าใจ โดยใช้เทคนิคการอ่านแบบ SQ6R สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเขาทรายทับคล้อพิทยาth
dc.typeIndependent Studyen
dc.typeการค้นคว้าอิสระth
dc.contributor.coadvisorSudakarn Patamadiloken
dc.contributor.coadvisorสุดากาญจน์ ปัทมดิลกth
dc.contributor.emailadvisorsudakarnp@nu.ac.then_US
dc.contributor.emailcoadvisorsudakarnp@nu.ac.then_US
dc.description.degreenameMaster of Education (M.Ed.)en
dc.description.degreenameการศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.)th
dc.description.degreelevelMaster's Degreeen
dc.description.degreelevelปริญญาโทth
dc.description.degreedisciplineDepartment of Educationen
dc.description.degreedisciplineภาควิชาการศึกษาth
Appears in Collections:คณะศึกษาศาสตร์

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
65090761.pdf6.47 MBAdobe PDFView/Open


Items in NU Digital Repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.