Please use this identifier to cite or link to this item:
http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/6489
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor | Papatsorn Kongnisai | en |
dc.contributor | ปภัสสร คงนิสัย | th |
dc.contributor.advisor | Tipparat Sittiwong | en |
dc.contributor.advisor | ทิพรัตน์ สิทธิวงศ์ | th |
dc.contributor.other | Naresuan University | en |
dc.date.accessioned | 2024-11-20T04:50:38Z | - |
dc.date.available | 2024-11-20T04:50:38Z | - |
dc.date.created | 2024 | en_US |
dc.date.issued | 17/11/2024 | en_US |
dc.identifier.uri | http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/6489 | - |
dc.description.abstract | This research study aimed to 1) develop Learning Activities by using Design Thinking with Gamification to promote Problem solving Thinking Ability for Vocational Certificate Students. 2) compare students’ Problem solving Thinking Ability after studying with Learning Activities by using Design Thinking with Gamification to promote Problem solving Thinking Ability for Vocational Certificate Students according to the criterion of 70%. 3) study students’ opinions on Learning Activities by using Design Thinking with Gamification to promote Problem solving Thinking Ability for Vocational Certificate Students. The research was conducted using a research & development design. The sample group was 31 second-year vocational certificate students, group 2 at Nakhon Sawan Vocational College, obtained from purposive sampling. The data were analyzed using percentage, mean and standard deviation. The research results found that 1) Learning Activities by using Design Thinking with Gamification to promote Problem solving Thinking Ability for Vocational Certificate Students, there was a focus on students having the Problem solving Thinking Ability from organizing activities according to the 7 steps of the design thinking process and 8 elements of gamification that create a participatory role for students, stimulate learning to be interesting. The teaching and learning activity was effective at 89.76/87.06, higher than the criteria of 85/85. 2) Students’ Problem solving Thinking Ability after studying Learning Activities by using Design Thinking with Gamification to promote Problem solving Thinking Ability for Vocational Certificate Students increase of 70 percentage and 3) The students’ opinions on Learning Activities by using Design Thinking with Gamification to promote Problem solving Thinking Ability for Vocational Certificate Students was at the highest level. | en |
dc.description.abstract | การศึกษาวิจัยครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อ 1) เพื่อพัฒนากิจกรรมการเรียนการสอน โดยใช้กระบวนการคิดเชิงออกแบบร่วมกับเกมมิฟิเคชันเพื่อส่งเสริมความสามารถด้านการคิดแก้ปัญหา สำหรับนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ 2) เพื่อเปรียบเทียบความสามารถในการคิดแก้ปัญหาหลังการเรียนด้วยกิจกรรมการเรียนการสอน โดยใช้กระบวนการคิดเชิงออกแบบ ร่วมกับเกมมิฟิเคชันสำหรับนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพกับเกณฑ์ร้อยละ 70 ที่กำหนดไว้ และ 3) เพื่อศึกษาความคิดเห็นที่มีต่อการเรียนการสอนโดยใช้กระบวนการคิดเชิงออกแบบ ร่วมกับเกมมิฟิเคชันเพื่อส่งเสริมความสามารถด้านการคิดแก้ปัญหา สำหรับนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ดำเนินการวิจัยโดยใช้รูปแบบการวิจัยและพัฒนา กลุ่มตัวอย่าง คือ นักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 2 กลุ่ม 2 วิทยาลัยอาชีวศึกษานครสวรรค์ จำนวน 31 คน ได้จากการสุ่มแบบเจาะจง สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า 1) กิจกรรมการเรียนการสอน โดยใช้กระบวนการคิดเชิงออกแบบร่วมกับเกมมิฟิเคชันเพื่อส่งเสริมความสามารถด้านการคิดแก้ปัญหา สำหรับนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ มีลักษณะมุ่งเน้นให้นักเรียนมีความสามารถในการคิดแก้ปัญหา จากการจัดกิจกรรมตามขั้นตอนของกระบวนการคิดเชิงออกแบบ 7 ขั้นตอน และเกมมิฟิเคชัน 8 องค์ประกอบจะสร้างบทบาทการมีส่วนร่วมให้กับผู้เรียน กระตุ้นการเรียนรู้ให้มีความน่าสนใจ โดยกิจกรรมการเรียนการสอนมีประสิทธิภาพ 89.76/87.06 สูงกว่าเกณฑ์ 85/85 2) ความสามารถในการคิดแก้ปัญหาหลังการเรียนด้วยกิจกรรมการเรียนการสอน โดยใช้กระบวนการคิดเชิงออกแบบ ร่วมกับเกมมิฟิเคชันสำหรับนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพกับ สูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 70 ตามที่กำหนดไว้ และ 3) ความคิดเห็นที่มีต่อการเรียนการสอนโดยใช้กระบวนการคิดเชิงออกแบบ ร่วมกับเกมมิฟิเคชันเพื่อส่งเสริมความสามารถด้านการคิดแก้ปัญหา สำหรับนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ โดยรวมมีค่าเฉลี่ยอยู่ใน ระดับมากที่สุด | th |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | Naresuan University | en_US |
dc.rights | Naresuan University | en_US |
dc.subject | กระบวนการคิดเชิงออกแบบ | th |
dc.subject | เกมมิฟิเคชัน | th |
dc.subject | ความสามารถในการคิดแก้ปัญหา | th |
dc.subject | Design Thinking | en |
dc.subject | Gamification | en |
dc.subject | Problem solving Thinking Ability | en |
dc.subject.classification | Social Sciences | en |
dc.subject.classification | Education | en |
dc.subject.classification | Training for teachers at basic levels | en |
dc.title | The Development of Learning Activities by using Design Thinking with Gamification to promote Problem solving Thinking Ability for Vocational Certificate Students | en |
dc.title | การพัฒนากิจกรรมการเรียนการสอนโดยใช้กระบวนการคิดเชิงออกแบบร่วมกับเกมมิฟิเคชันเพื่อส่งเสริมความสามารถในการคิดแก้ปัญหา สำหรับนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ | th |
dc.type | Thesis | en |
dc.type | วิทยานิพนธ์ | th |
dc.contributor.coadvisor | Tipparat Sittiwong | en |
dc.contributor.coadvisor | ทิพรัตน์ สิทธิวงศ์ | th |
dc.contributor.emailadvisor | tipparats@nu.ac.th | en_US |
dc.contributor.emailcoadvisor | tipparats@nu.ac.th | en_US |
dc.description.degreename | Master of Education (M.Ed.) | en |
dc.description.degreename | การศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.) | th |
dc.description.degreelevel | Master's Degree | en |
dc.description.degreelevel | ปริญญาโท | th |
dc.description.degreediscipline | Department of Educational Technology and Communications | en |
dc.description.degreediscipline | ภาควิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา | th |
Appears in Collections: | คณะศึกษาศาสตร์ |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
65090600.pdf | 19.69 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in NU Digital Repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.