Please use this identifier to cite or link to this item: http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/6475
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorSasiwimon Bokhamen
dc.contributorศศิวิมล บ่อคำth
dc.contributor.advisorJitima Wannasrien
dc.contributor.advisorจิติมา วรรณศรีth
dc.contributor.otherNaresuan Universityen
dc.date.accessioned2024-11-20T04:50:36Z-
dc.date.available2024-11-20T04:50:36Z-
dc.date.created2024en_US
dc.date.issued23/6/2024en_US
dc.identifier.urihttp://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/6475-
dc.description.abstractThe purposes of this research were to study the digital readership of school administrators in small size school and guidelines to promote the digital readership of school’s administrators in small school under Phrae primary educational service area office 2. There are research methods as follows: Step 1 the study scale of digital readership of school administrators in small school under Phrae primary educational service area office 2. The sample group consisted of 234 people the are 44 administrators by Purposive sampling and 190 teachers by Stratified Random Sampling from 78 schools. The research instrument was a questionnaire of digital readership of school administrators with reliability at 0.976. The collected data were analyzed by mean and standard deviation. Step 2 the study of guidelines to promote the digital readership of school’s administrators in small school under Phrae primary educational service area office 2. The informant group was 3 experts acquired by Purposive sampling. The in-depth interview was used to collecting the information then analyzed the data by content analysis. The research findings indicated that 1. Digital readership of school administrators overall were at a high level. When considering by each aspect, it was found that the highest aspect was evaluating. Potential of digital knowledge which were at a high level. The lowest aspect was the vision of digital readership, were at a high level. 2. Guidelines to promote the digital readership of school’s administrators in small school under Phrae primary educational service area office 2 should promote and develop school administrators to know and understand of digital technology by training and learning exchange meeting. Continuously monitor and develop skills to promote administration effectively.en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาภาวะผู้นำดิจิทัลของผู้บริหารสถานศึกษา โรงเรียนขนาดเล็ก สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาแพร่ เขต 2  2) เพื่อศึกษาแนวทางการส่งเสริมภาวะผู้นำดิจิทัลของผู้บริหารของผู้บริหารสถานศึกษา โรงเรียนขนาดเล็ก สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาแพร่ เขต 2 มีวิธีดำเนินการวิจัย แบ่งออกเป็น 2 ขั้นตอน ได้แก่ ขั้นตอนที่ 1 ศึกษาภาวะผู้นำดิจิทัลของผู้บริหารสถานศึกษา โรงเรียนขนาดเล็ก สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาแพร่ เขต 2 กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ผู้บริหารและครูในโรงเรียนขนาดเล็ก สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาแพร่ เขต 2 จำนวน 234 คน โดยกำหนดกลุ่มตัวอย่างด้วยการเปิดตาราง เครจซี่และมอร์แกน จำแนกเป็น ผู้บริหาร 44 คน โดยการเลือกแบบเจาะจง และครู 190 คน เลือกโดยวิธีการสุ่มแบบแบ่งชั้น ตามสัดส่วนของครูในโรงเรียน แต่ละโรงเรียน จากทั้งหมด 78 โรงเรียน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลด้วยแบบสอบถาม มีลักษณะเป็นมาตรประมาณค่า 5 ระดับ มีค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.976 วิเคราะห์ข้อมูลด้วยค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ขั้นตอนที่ 2 ศึกษาแนวทางการส่งเสริมภาวะดิจิทัลของผู้บริหารสถานศึกษา โรงเรียนขนาดเล็ก สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาแพร่ เขต 2 กลุ่มผู้ให้ข้อมูล ได้แก่ ผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 3 คน ได้มาโดยการเลือกแบบเจาะจง เก็บรวบรวมข้อมูลด้วยแบบสัมภาษณ์ และวิเคราะห์ข้อมูลด้วยการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัยพบว่า 1.ภาวะผู้นำดิจิทัลของผู้บริหารสถานศึกษา โรงเรียนขนาดเล็ก สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาแพร่ เขต 2 ในภาพรวม อยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณารายด้าน พบว่า ด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ ด้านการพัฒนาศักยภาพด้านดิจิทัล อยู่ในระดับมาก และด้านที่มีค่าเฉลี่ยต่ำที่สุด คือ ด้านการมีวิสัยทัศน์ อยู่ในระดับมาก 2.แนวทางการส่งเสริมภาวะดิจิทัลของผู้บริหารสถานศึกษา โรงเรียนขนาดเล็ก สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาแพร่ เขต 2 พบว่า สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาแพร่ เขต 2 ควรส่งเสริมและพัฒนาให้ผู้บริหารสถานศึกษา  มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับเทคโนโลยีดิจิทัล โดยการจัดอบรม แลกเปลี่ยนการเรียนรู้ และมีการนิเทศ ติดตามการใช้อย่างต่อเนื่อง เพื่อส่งเสริมการบริหารสถานศึกษาให้มีประสิทธิภาพth
dc.language.isothen_US
dc.publisherNaresuan Universityen_US
dc.rightsNaresuan Universityen_US
dc.subjectภาวะผู้นำดิจิทัลth
dc.subjectผู้บริหารสถานศึกษาth
dc.subjectโรงเรียนขนาดเล็กth
dc.subjectDIGITAL LEADERSHIPen
dc.subjectSCHOOL ADMINISTRATORen
dc.subjectSMALL SCHOOLen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.subject.classificationEducationen
dc.subject.classificationEducation scienceen
dc.titleTHE GUIDELINES TO PROMOTE DIGITAL READERSHIP OF SCHOOL ADMINISTRATORS IN SMALL SCHOOL UNDER PHRAE PRIMARY EDUCATIONAL SERVICE AREA OFFICE  2en
dc.titleแนวทางการส่งเสริมภาวะผู้นำดิจิทัลของผู้บริหารสถานศึกษา โรงเรียนขนาดเล็ก สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาแพร่ เขต 2th
dc.typeIndependent Studyen
dc.typeการค้นคว้าอิสระth
dc.contributor.coadvisorJitima Wannasrien
dc.contributor.coadvisorจิติมา วรรณศรีth
dc.contributor.emailadvisorjitimaw@nu.ac.then_US
dc.contributor.emailcoadvisorjitimaw@nu.ac.then_US
dc.description.degreenameMaster of Education (M.Ed.)en
dc.description.degreenameการศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.)th
dc.description.degreelevelMaster's Degreeen
dc.description.degreelevelปริญญาโทth
dc.description.degreedisciplineDepartment of Educational Administration and Developmenten
dc.description.degreedisciplineภาควิชาบริหาร วิจัย และพัฒนานวัตกรรมทางการศึกษาth
Appears in Collections:คณะศึกษาศาสตร์

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
65071760.pdf2.73 MBAdobe PDFView/Open


Items in NU Digital Repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.