Please use this identifier to cite or link to this item:
http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/6473
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor | Phuwit Krutluang | en |
dc.contributor | ภูวิศ ครุฑหลวง | th |
dc.contributor.advisor | Sathiraporn Chaowachai | en |
dc.contributor.advisor | สถิรพร เชาวน์ชัย | th |
dc.contributor.other | Naresuan University | en |
dc.date.accessioned | 2024-11-20T04:50:36Z | - |
dc.date.available | 2024-11-20T04:50:36Z | - |
dc.date.created | 2024 | en_US |
dc.date.issued | 23/6/2024 | en_US |
dc.identifier.uri | http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/6473 | - |
dc.description.abstract | The purposes of this research are to study the teachers' learning management in the digital age and to study the guidelines for developing teachers' learning management in the digital age under the Secondary Educational Service Area Office Sukhothai. The research method is divided into 2 steps: The first is study of teachers' learning management in the digital age under the Secondary Educational Service Area Office Sukhothai. The sample group consisted of 285 teachers under the Secondary Educational Service Area Office Sukhothai. The tool used to collect the data was a questionnaire on teachers' learning management in the digital age under the Secondary Educational Service Area Office Sukhothai which has a 5-level estimation scale. The data was analyzed with mean and standard deviation. The second step is study of the guidelines for developing teachers' learning management in the digital age under the Secondary Educational Service Area Office Sukhothai. The group of informants who were the purposive selection included 4 experts with knowledge and ability in digital technology. The tools used to collect the data include the interviews on the topic of the guidelines for developing teachers' learning management in the digital age under the Secondary Educational Service Area Office Sukhothai and The data was analyzed by using content analysis. The research results were as follows: 1. The overall result of the study of teacher learning management in the digital age under the Secondary Educational Service Area Office Sukhothai is at a high level. When considering in each aspect, it is found that the aspect with the highest average is the learning processes combined with digital technology which is at a high level and the aspect with the lowest average is the use of digital tools for learning which is at a high level. 2. The result of the study of guidelines for developing teachers' learning management in the digital era under the Secondary Educational Service Area Office Sukhothai is found that the Sukhothai Educational Service Area Office should organize trainings to provide knowledge in both online and on-site formats regarding the use of technology in curriculum design for the teachers. The office should support budget for teachers' use of learning management application and organize a contest on the use of innovative media and digital tools for learning. Moreover, the office should organize the online meetings continuously. | en |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการจัดการเรียนรู้ของครูในยุคดิจิทัล สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาสุโขทัยและศึกษาแนวทางการพัฒนาการจัดการเรียนรู้ของครูในยุคดิจิทัล สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาสุโขทัย มีวิธีดำเนินการวิจัยแบ่งออกเป็น 2 ขั้นตอน คือ ขั้นตอนที่ 1 การศึกษาการจัดการเรียนรู้ของครูในยุคดิจิทัล สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาสุโขทัย กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ครูผู้สอน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาสุโขทัย จำนวน 285 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ แบบสอบถามการจัดการเรียนรู้ของครูในยุคดิจิทัล สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาสุโขทัย มีลักษณะเป็นมาตรประมาณค่า 5 ระดับ วิเคราะห์ข้อมูลด้วยค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ขั้นตอนที่ 2 การศึกษาแนวทางการพัฒนาการจัดการเรียนรู้ของครูในยุคดิจิทัล สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาสุโขทัย กลุ่มผู้ให้ข้อมูล ได้แก่ ผู้ทรงคุณวุฒิที่มีความรู้ความสามารถด้านเทคโนโลยีดิจิทัล จำนวน 4 คน ได้มาโดยการเลือกแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ แบบสัมภาษณ์แนวทางการพัฒนาการจัดการเรียนรู้ของครูในยุคดิจิทัล สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาสุโขทัย และวิเคราะห์ข้อมูลด้วยการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัย พบว่า 1. ผลการศึกษาการจัดการเรียนรู้ของครูในยุคดิจิทัล สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาสุโขทัย ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ การจัดกระบวนการเรียนรู้ผสานเทคโนโลยีดิจิทัล อยู่ในระดับมาก และด้านที่มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด คือ การใช้เครื่องมือดิจิทัลเพื่อการเรียนรู้ อยู่ในระดับมาก 2. ผลการศึกษาแนวทางการพัฒนาการจัดการเรียนรู้ของครูในยุคดิจิทัล สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาสุโขทัย พบว่า สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ควรจัดอบรมเพื่อให้ความรู้ทั้งรูปแบบ Online และ Onsite เกี่ยวกับการใช้เทคโนโลยีออกแบบหลักสูตร สนับสนุนงบประมาณในการใช้แอปพลิเคชั่นการจัดการเรียนรู้ของครู จัดประกวดการใช้สื่อ นวัตกรรม เครื่องมือดิจิทัลเพื่อการเรียนรู้ และจัดประชุมในรูปแบบ Online อย่างต่อเนื่อง | th |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | Naresuan University | en_US |
dc.rights | Naresuan University | en_US |
dc.subject | การจัดการเรียนรู้ของครู | th |
dc.subject | แนวทางการพัฒนา | th |
dc.subject | ยุคดิจิทัล | th |
dc.subject | Teacher's learning management | en |
dc.subject | development guidelines | en |
dc.subject | digital age | en |
dc.subject.classification | Social Sciences | en |
dc.subject.classification | Education | en |
dc.subject.classification | Education science | en |
dc.title | GUIDELINES FOR DEVELOPING TEACHERS' LEARNING MANAGEMENT IN THE DIGITAL ERA UNDER THE SECONDARY EDUCATIONAL SERVICE AREA OFFICE SUKHOTHAI | en |
dc.title | แนวทางการพัฒนาการจัดการเรียนรู้ของครูในยุคดิจิทัลสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาสุโขทัย | th |
dc.type | Independent Study | en |
dc.type | การค้นคว้าอิสระ | th |
dc.contributor.coadvisor | Sathiraporn Chaowachai | en |
dc.contributor.coadvisor | สถิรพร เชาวน์ชัย | th |
dc.contributor.emailadvisor | sathirapornc@nu.ac.th | en_US |
dc.contributor.emailcoadvisor | sathirapornc@nu.ac.th | en_US |
dc.description.degreename | Master of Education (M.Ed.) | en |
dc.description.degreename | การศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.) | th |
dc.description.degreelevel | Master's Degree | en |
dc.description.degreelevel | ปริญญาโท | th |
dc.description.degreediscipline | Department of Educational Administration and Development | en |
dc.description.degreediscipline | ภาควิชาบริหาร วิจัย และพัฒนานวัตกรรมทางการศึกษา | th |
Appears in Collections: | คณะศึกษาศาสตร์ |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
65071401.pdf | 2.65 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in NU Digital Repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.