Please use this identifier to cite or link to this item: http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/6468
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorSarisa Khamnaken
dc.contributorสริษา คำหนักth
dc.contributor.advisorSathiraporn Chaowachaien
dc.contributor.advisorสถิรพร เชาวน์ชัยth
dc.contributor.otherNaresuan Universityen
dc.date.accessioned2024-11-20T04:50:35Z-
dc.date.available2024-11-20T04:50:35Z-
dc.date.created2024en_US
dc.date.issued23/6/2024en_US
dc.identifier.urihttp://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/6468-
dc.description.abstractThe purposes of this research were 1) study the digital leadership of school administrators, 2) study the promoting to use technology for learning management of school administrators, and 3) investigate the relationship between digital leadership and promoting to use technology for learning management of school administrators in school under Tak primary educational service area office 1. The sample group includes 274 school administrators and teachers in the academic year 2566. The research tools consist of a questionnaire with a 5-point Likert scale. Data analysis involves calculating the mean, standard deviation, and Pearson's correlation coefficient. The results showed that: 1. Overall, the digital leadership of school administrators is at a high level. When considering various aspects, it is found that the aspect with the highest average score is communication with digital technology, which is at a high level. Following that is creating a digital environment, which is also at a high level, and creativity is at a high level. The aspect with the lowest average score is vision, which is at a high level, in order. 2. Overall, the promoting to use technology for learning management of school administrators is at a high level. When considering various aspects, it is found that the aspect with the highest average score is measuring and evaluating learning outcomes, which is at a high level. Following that is classroom learning management, which is also at a high level, and the aspect with the lowest average score are creating technological media for learning management and information search service for teachers and students, which are at high level, in order. 3. There is a positive relationship between the relationship between digital leadership and promoting to use technology for learning management of school administrators in school under Tak primary educational service area office 1, at a statistically significant level of .01.en
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาภาวะผู้นำดิจิทัลของผู้บริหารสถานศึกษา 2) ศึกษาการส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีในการจัดการเรียนรู้ของผู้บริหารสถานศึกษา และ 3) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำดิจิทัลกับการส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีในการจัดการเรียนรู้ของผู้บริหารสถานศึกษา ในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาตาก เขต 1 กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษาและครูที่ปฏิบัติการสอนในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาตาก เขต 1 ปีการศึกษา 2566 จำนวน 274 คน เลือกกลุ่มตัวอย่างโดยการสุ่มแบบแบ่งชั้น จำแนกตามอำเภอ เก็บรวบรวมข้อมูลด้วยแบบสอบถามชนิดมาตราประมาณค่า 5 ระดับ วิเคราะห์ข้อมูลด้วยค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน   ผลการวิจัย พบว่า 1.  ภาวะผู้นำดิจิทัลของผู้บริหารสถานศึกษา โดยรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณารายด้าน พบว่า ด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด ได้แก่ ด้านการสื่อสารด้วยเทคโนโลยีดิจิทัล อยู่ในระดับมาก รองลงมาได้แก่ ด้านการสร้างสภาพแวดล้อมเชิงดิจิทัล อยู่ในระดับมาก และด้านที่มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด ได้แก่ ด้านวิสัยทัศน์ อยู่ในระดับมาก 2.  การส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีในการจัดการเรียนรู้ของผู้บริหารสถานศึกษา โดยรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณารายด้าน พบว่า ด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด ได้แก่ ด้านการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ อยู่ในระดับมาก รองลงมา ได้แก่ ด้านการจัดการเรียนรู้ในชั้นเรียน อยู่ในระดับมาก และด้านที่มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด ได้แก่ ด้านการสร้างสื่อเทคโนโลยีในการจัดการเรียนรู้ และด้านบริการสืบค้นข้อมูลสำหรับครูและนักเรียน อยู่ในระดับมาก 3. ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำดิจิทัลกับการส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีในการจัดการเรียนรู้ของผู้บริหารสถานศึกษา ในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาตาก    เขต 1 พบว่า มีความสัมพันธ์ทางบวกในระดับสูง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01th
dc.language.isothen_US
dc.publisherNaresuan Universityen_US
dc.rightsNaresuan Universityen_US
dc.subjectภาวะผู้นำดิจิทัลของผู้บริหารสถานศึกษาth
dc.subjectการส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีในการจัดการเรียนรู้ของผู้บริหารสถานศึกษาth
dc.subjectThe Digital Leadership of School Administratorsen
dc.subjectThe Promoting to Use Technology for Learning Management of School Administratorsen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.subject.classificationEducationen
dc.subject.classificationEducation scienceen
dc.titleTHE RELATIONSHIP BETWEEN DIGITAL LEADERSHIP AND PROMOTING TO USE TECHNOLOGY FOR LEARNING MANAGEMENT OF SCHOOL ADMINISTRATORS IN SCHOOL UNDER TAK PRIMARY EDUCATIONAL SERVICE AREA OFFICE 1en
dc.titleความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำดิจิทัลกับการส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีในการจัดการเรียนรู้ของผู้บริหารสถานศึกษาในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาตาก เขต 1th
dc.typeIndependent Studyen
dc.typeการค้นคว้าอิสระth
dc.contributor.coadvisorSathiraporn Chaowachaien
dc.contributor.coadvisorสถิรพร เชาวน์ชัยth
dc.contributor.emailadvisorsathirapornc@nu.ac.then_US
dc.contributor.emailcoadvisorsathirapornc@nu.ac.then_US
dc.description.degreenameMaster of Education (M.Ed.)en
dc.description.degreenameการศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.)th
dc.description.degreelevelMaster's Degreeen
dc.description.degreelevelปริญญาโทth
dc.description.degreedisciplineDepartment of Educational Administration and Developmenten
dc.description.degreedisciplineภาควิชาบริหาร วิจัย และพัฒนานวัตกรรมทางการศึกษาth
Appears in Collections:คณะศึกษาศาสตร์

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
65070800.pdf2.63 MBAdobe PDFView/Open


Items in NU Digital Repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.