Please use this identifier to cite or link to this item:
http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/6462
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor | Kanjana Deesoi | en |
dc.contributor | กาญจนา ดีสร้อย | th |
dc.contributor.advisor | Nat Rattanasirinichakun | en |
dc.contributor.advisor | ณัฎฐ์ รัตนศิริณิชกุล | th |
dc.contributor.other | Naresuan University | en |
dc.date.accessioned | 2024-11-20T04:50:34Z | - |
dc.date.available | 2024-11-20T04:50:34Z | - |
dc.date.created | 2024 | en_US |
dc.date.issued | 23/6/2024 | en_US |
dc.identifier.uri | http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/6462 | - |
dc.description.abstract | This research aimed to 1) analyze the strengths, opportunities, aspirations, and results, 2) study the effects of developing strategies, and 3) study the results of implementing and reflecting on the early childhood education management strategies based on the HighScope approach: A case study of Ban Hin Lad School. The purposively selected samples consisted of 28 participants, including school administrators, teachers, and stakeholders. The research instruments were questionnaires, interview forms, and after-action review (AAR) records. The instruments were validated by experts and had a reliability of 0.89. Data were analyzed using means, standard deviations, and content analysis. The findings revealed that:1) the strengths were the importance given to early childhood education quality development by administrators, teachers, and stakeholders; the opportunities were external support and teachers' self-development; the inspirations were the commitment to develop based on the HighScope approach to enhance children's potential; and the expected results were participation, environment, and experience management according to the HighScope approach. 2) The strategies were found to be highly appropriate, consisting of environmental management, activity promotion, and the use of professional learning community (PLC) processes. 3) The results of the implementation showed the development of environment, promotion of activities, and systematic implementation of PLC. The lesson learned indicated that all parties gained more knowledge and understanding and could apply the strategies to further develop early childhood education management | en |
dc.description.abstract | การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) วิเคราะห์สภาพแวดล้อม เพื่อการสร้างกลยุทธ์การบริหารจัดการศึกษาปฐมวัยตามแนวคิดไฮสโคปในโรงเรียนบ้านหินลาด 2) เพื่อสร้างกลยุทธ์การบริหารจัดการศึกษาปฐมวัยตามแนวคิดไฮสโคปในโรงเรียนบ้านหินลาด 3) เพื่อทดลองใช้และถอดบทเรียนกลยุทธ์การบริหารจัดการศึกษาปฐมวัยตามแนวคิดไฮสโคปในโรงเรียนบ้านหินลาดกลุ่มตัวอย่างได้มาโดยการเลือกแบบเจาะจง ประกอบด้วย ผู้บริหารสถานศึกษา ครู และผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง จำนวน 28 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสอบถาม แบบสัมภาษณ์ และแบบบันทึกการทบทวนหลังการปฏิบัติงาน โดยเครื่องมือผ่านการตรวจสอบความตรงเชิงเนื้อหาจากผู้ทรงคุณวุฒิ และมีค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.89 การวิเคราะห์ข้อมูลใช้ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัยพบว่า 1) จุดแข็ง ได้แก่ ผู้บริหาร ครู และผู้มีส่วนร่วมให้ความสำคัญกับการพัฒนาคุณภาพการศึกษาปฐมวัย โอกาส ได้แก่ การสนับสนุนจากภายนอกและการพัฒนาตนเองของครู แรงบันดาลใจ ได้แก่ การมุ่งมั่นพัฒนาตามแนวคิดไฮสโคปเพื่อส่งเสริมศักยภาพเด็ก และผลลัพธ์ที่คาดหวัง ได้แก่ การมีส่วนร่วม สภาพแวดล้อมและการจัดประสบการณ์ตามแนวคิดไฮสโคป 2) กลยุทธ์มีความเหมาะสมอยู่ในระดับมากที่สุด ประกอบด้วย การบริหารจัดการสภาพแวดล้อม การส่งเสริมการจัดกิจกรรม และการใช้กระบวนการ PLC 3) ผลการทดลองใช้ พบการพัฒนาสภาพแวดล้อม ส่งเสริมการจัดกิจกรรม และดำเนินการ PLC อย่างเป็นขั้นตอน ผลการถอดบทเรียน พบว่าทุกฝ่ายมีความรู้ความเข้าใจและสามารถนำกลยุทธ์ไปพัฒนาต่อยอดการบริหารจัดการศึกษาปฐมวัยได้ | th |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | Naresuan University | en_US |
dc.rights | Naresuan University | en_US |
dc.subject | กลยุทธ์, การบริหารจัดการศึกษาปฐมวัย, แนวคิดไฮสโคป | th |
dc.subject | Strategies Administration of early childhood curriculum multicultural areas | en |
dc.subject.classification | Social Sciences | en |
dc.subject.classification | Education | en |
dc.subject.classification | Education science | en |
dc.title | STRATEGIES FOR ADMINISTRATION OF EARLY CHILDHOOD BASED ON HIGH SCOPE IN BAN HIN LAD SCHOOL | en |
dc.title | กลยุทธ์การบริหารจัดการศึกษาปฐมวัยตามแนวคิดไฮสโคปในโรงเรียนบ้านหินลาด | th |
dc.type | Independent Study | en |
dc.type | การค้นคว้าอิสระ | th |
dc.contributor.coadvisor | Nat Rattanasirinichakun | en |
dc.contributor.coadvisor | ณัฎฐ์ รัตนศิริณิชกุล | th |
dc.contributor.emailadvisor | natr@nu.ac.th | en_US |
dc.contributor.emailcoadvisor | natr@nu.ac.th | en_US |
dc.description.degreename | Master of Education (M.Ed.) | en |
dc.description.degreename | การศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.) | th |
dc.description.degreelevel | Master's Degree | en |
dc.description.degreelevel | ปริญญาโท | th |
dc.description.degreediscipline | Department of Educational Administration and Development | en |
dc.description.degreediscipline | ภาควิชาบริหาร วิจัย และพัฒนานวัตกรรมทางการศึกษา | th |
Appears in Collections: | คณะศึกษาศาสตร์ |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
65070114.pdf | 3.64 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in NU Digital Repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.