Please use this identifier to cite or link to this item: http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/6455
Title: THE DEVELOPMENT OF THE PROCESS WRITING APPROACH THROUGH SOCIAL ISSUES FOR ACADEMIC WRITING ABILITY FOR COMMUNICATION ENHANCING ELEVENTH GRADE STUDENTS
การพัฒนากิจกรรมการสอนเขียนแบบเน้นกระบวนการผ่านประเด็นสังคม เพื่อส่งเสริมความสามารถในการเขียนภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารเชิงวิชาการ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
Authors: Chanyapohn Chanpom
จรรยาภรณ์ จันทร์ป้อม
Angkana Onthanee
อังคณา อ่อนธานี
Naresuan University
Angkana Onthanee
อังคณา อ่อนธานี
angkanao@nu.ac.th
angkanao@nu.ac.th
Keywords: กิจกรรมการสอนเขียนแบบเน้นกระบวนการผ่านประเด็นทางสังคม
ความสามารถในการเขียนภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารเชิงวิชาการ
การเขียนภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารเชิงวิชาการ
Process writing approach through social issues
Academic writing ability for communication
Academic writing for communication
Issue Date:  6
Publisher: Naresuan University
Abstract: The purposes of this research were 1) to conduct and assess the efficiency of the process writing approach through social issues as the criteria of 75/75, 2) to implement and study the result of the process writing approach through social issues. The study by research and development of 3 steps as follows: 1) Constructing and assessing the effectiveness of the process writing approach through social issues. That certified the approach by three experts to examine the appropriation then implemented in eleventh grade students to define the efficiency of 75/75, 2) Implementing and studying the process writing approach through social issues. The sample group was 38 students of eleventh grade students of Nareerat School Phrae to simple random sampling. The result of the study revealed that: 1) Six steps of the process writing approach through social issues were 1) analysis 2) drafting 3) revising and editing 4) response and reflection 5) presentation and 6) feedback and effectiveness at 76.67/75.56, 2) The implement and study the result of the process writing approach through social issues were Academic writing ability for communication in the posttest were higher than of the pretest with statistical level of .05 and students produced writing task in step 4: response and reflection then published online in step 5: presentation.
งานวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) สร้างและประเมินประสิทธิภาพของกิจกรรมการสอนเขียนแบบเน้นกระบวนการผ่านประเด็นสังคม ตามเกณฑ์ 75/75 (2) ศึกษาผลการใช้กิจกรรมการสอนเขียนแบบเน้นกระบวนการผ่านประเด็นสังคม ดำเนินการวิจัยตามระเบียบวิธีวิจัยและพัฒนา (Research and development)  มี 2 ขั้นตอน ดังนี้ ขั้นตอนที่ 1 การสร้างและประสิทธิภาพของกิจกรรมการสอนเขียนแบบเน้นกระบวนการผ่านประเด็นสังคม โดยพิจารณาความเหมาะสมของกิจกรรมการสอนเขียนและแผนการจัดกิจกรรมการสอนเขียนจากผู้เชี่ยวชาญ 3 ท่าน แล้วทดลองนำร่องเพื่อพิจารณาความเป็นไปได้กับนักเรียนที่ไม่ใช่กลุ่มตัวอย่าง ขั้นตอนที่ 2 ศึกษาผลการใช้กิจกรรมการสอนเขียนแบบเน้นกระบวนการผ่านประเด็นสังคม กับนักเรียนกลุ่มตัวอย่าง นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 จำนวน 1 ห้องเรียน จำนวน 38 คน โดยวิธีสุ่มอย่างง่าย ผลการวิจัย พบว่า (1) กิจกรรมการสอนเขียนแบบเน้นกระบวนการผ่านประเด็นสังคม ประกอบด้วย 6 ขั้นตอน ได้แก่ 1) ขั้นวิเคราะห์ประเด็น 2) ขั้นการเขียนร่าง 3) ขั้นทบทวนและแก้ไข 4) ขั้นตอบกลับและสะท้อนงานเขียน 5) ขั้นนำเสนอและเผยแพร่และ 6) ขั้นสะท้อนคิด และมีประสิทธิภาพ เท่ากับ 76.67/75.56 (2) ผลการใช้และศึกษาผลการใช้กิจกรรมการสอนเขียนแบบเน้นกระบวนการผ่านประเด็นสังคม คือ นักเรียนมีความสามารถในการเขียนภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารเชิงวิชาการของนักเรียนหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ทั้งนี้นักเรียนสามารถเขียนความเรียงในขั้นที่ 4 ขั้นตอบกลับและสะท้อนงานเขียน และเผยแพร่บนแพลตฟอร์มออนไลน์ได้ในขั้นที่ 5 ขั้นนำเสนอและเผยแพร่
URI: http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/6455
Appears in Collections:คณะศึกษาศาสตร์

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
64090236.pdf4.18 MBAdobe PDFView/Open


Items in NU Digital Repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.