Please use this identifier to cite or link to this item:
http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/6454
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor | Suprakit Wiriyakit | en |
dc.contributor | สุภกิจ วิริยะกิจ | th |
dc.contributor.advisor | Pufa Savagpun | en |
dc.contributor.advisor | ภูฟ้า เสวกพันธ์ | th |
dc.contributor.other | Naresuan University | en |
dc.date.accessioned | 2024-11-20T04:50:33Z | - |
dc.date.available | 2024-11-20T04:50:33Z | - |
dc.date.created | 2024 | en_US |
dc.date.issued | 17/11/2024 | en_US |
dc.identifier.uri | http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/6454 | - |
dc.description.abstract | The objectives of this research are as follows: 1) study the state of physical education learning management to promote creativity and sportsmanship for upper primary school students. In schools affiliated with Rajabhat University 2) create and determine the effectiveness of physical education learning management models based on constructivist theory to promote creativity and sportsmanship for upper primary school students 3) experiment with a physical education learning management model based on constructivist theory to develop creative and sportsmanship for upper elementary school students 4) evaluate the utility of a physical education learning management model based on constructivist theory to develop creative and sportsmanship for upper elementary school students. Conduct research according to the R&D process. There are 4 steps. 1) to study the state of physical education learning management to develop creativity and sportsmanship for upper primary school students. In schools affiliated with Rajabhat University. Examples include physical education teachers. 21 schools affiliated with Rajabhat University, total 21 students. 2) Create, check the quality and find out the performance of the model. 3) Model Experiment Sample: Grade 5 students, Nakhon Sawan Rajabhat University Demonstration School, 2 classrooms 20 students per classroom. The trial was conducted in 1 room and the control group was 10 weeks. The tools used to collect data include the Creativity Scale and the Sportsmanship Scale. Analyze data by analyzing mean, standard deviation and t-test. The results showed that: 1. Physical education management conditions to promote creativity and sportsmanship for upper primary school students. In schools affiliated with Rajabhat University Student-centered learning is promoted at the highest level. 1) The school organizes teaching and learning activities to enable students to have good creative thinking abilities (Average = 4.90, SD = 0.436). 2) The school emphasizes that teachers organize a variety of teaching activities that focus on the learners (Average = 4.90, SD = 0.436) 3) The school organizes activities both inside and outside the school to encourage students to learn and be utility beyond normal learning (Average = 4.90, SD = 0.436) respectively. A physical education learning management model to encourage creativity and sportsmanship for upper primary school students will have a positive impact on learners( Average= 4.90, SD = 0.436). 2. A model of physical education learning management model based on constructivist theory to promote creativity and sportsmanship for upper primary school students. Composition, which is suitable to a large extent. 3. The results of using the format showed that: 1) Creativity and sportsmanship. Post-study of experimental group students was statistically significantly higher than before, at the .05 level. 2) Creativity and sportsmanship Post-study of the experimental group was statistically significantly higher than the control group at the .05 level. 4. The results of the assessment showed that 1) teachers were at a high level ( Average= 4.42, SD = 0.36), 2) teaching methods were at the highest level ( Average= 4.59, SD = 0.50), 3) subject content was at a high level (Average = 4.48, SD = 0.53), and 4) measurement and evaluation was at a high level (Average = 4.35, SD = 0.62) | en |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาสภาพการจัดการเรียนรู้พลศึกษาเพื่อส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์และความมีน้ำใจนักกีฬาสำหรับนักเรียนระดับประถมศึกษาตอนปลาย ในโรงเรียนสังกัดมหาวิทยาลัยราชภัฎ 2) เพื่อสร้างและหาประสิทธิภาพของรูปแบบการจัดการเรียนรู้พลศึกษาตามแนวทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์เพื่อส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์และความมีน้ำใจนักกีฬาสำหรับนักเรียนระดับประถมศึกษาตอนปลาย 3) เพื่อศึกษาผลการทดลองใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้พลศึกษาตามแนวทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์เพื่อส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์และความมีน้ำใจนักกีฬาสำหรับนักเรียนระดับประถมศึกษาตอนปลาย 4) เพื่อประเมินความเป็นประโยชน์ของรูปแบบการจัดการเรียนรู้พลศึกษาตามแนวทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์เพื่อส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์และความมีน้ำใจนักกีฬาสำหรับนักเรียนระดับประถมศึกษาตอนปลาย ดำเนินการวิจัยตามขั้นตอนการวิจัยและพัฒนา มี 4 ขั้นตอน ได้แก่ ขั้นตอนที่ 1 การศึกษาสภาพการจัดการเรียนรู้พลศึกษาเพื่อส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์และความมีน้ำใจนักกีฬาสำหรับนักเรียนระดับประถมศึกษาตอนปลาย ในโรงเรียนสังกัดมหาวิทยาลัยราชภัฎ กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ครูพลศึกษา โรงเรียนสาธิตสังกัดมหาวิทยาลัยราชภัฏ 21 โรงเรียน โรงเรียนละ 1 คน ขั้นตอนที่ 2 สร้างตรวจสอบคุณภาพและหาประสิทธิภาพของรูปแบบ ขั้นตอนที่ 3 การทดลองใช้รูปแบบ กลุ่มตัวอย่าง นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฎนครสวรรค์ จำนวน 2 ห้องเรียน ห้องเรียนละ 20 คน โดยเป็นกลุ่มตัวอย่าง 1 ห้อง และกลุ่มควบคุม 1 ห้อง ระยะเวลาในการดำเนินการทดลอง 10 สัปดาห์ เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ประกอบด้วย แบบวัดความคิดสร้างสรรค์และแบบวัดความมีน้ำใจนักกีฬา วิเคราะห์ข้อมูลโดยวิเคราะห์ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและทดสอบค่าที (t-test) ผลการวิจัยพบว่า 1. สภาพการจัดการเรียนรู้พลศึกษาเพื่อส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์และความมีน้ำใจนักกีฬาสำหรับนักเรียนระดับประถมศึกษาตอนปลาย ในโรงเรียนสังกัดมหาวิทยาลัยราชภัฎ มีการส่งเสริมการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ อยู่ในระดับ มากที่สุด ประกอบไปด้วย 1) สถานศึกษาจัดกิจกรรมการเรียนการสอนให้นักเรียนมีความสามารถในการคิดริเริ่มสร้างสรรค์ได้ดี (Average = 4.90, SD = 0.436) 2) สถานศึกษาเน้นให้ครูสอนจัดกิจกรรมการเรียนการสอนอย่างหลากหลายที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ( Average = 4.90, SD = 0.436) 3) สถานศึกษาจัดกิจกรรมทั้งภายในและภายนอกโรงเรียนเพื่อส่งเสริมให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้และมีประโยชน์นอกเหนือจากการเรียนปกติ ( Average = 4.90, SD = 0.436) ตามลำดับ และรูปแบบการจัดการเรียนรู้พลศึกษาเพื่อส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์และความมีน้ำใจนักกีฬาสำหรับนักเรียนระดับประถมศึกษาตอนปลายจะส่งผลดีต่อผู้เรียน อยู่ในระดับ มากที่สุด ( Average = 4.90, SD = 0.436) 2. รูปแบบการรูปแบบการจัดการเรียนรู้พลศึกษาตามแนวทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์เพื่อส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์และความมีน้ำใจนักกีฬาสำหรับนักเรียนระดับประถมศึกษาตอนปลาย องค์ประกอบ ซึ่งเหมาะสมอยู่ในระดับมาก 3. ผลการใช้รูปแบบ พบว่า 1) ความคิดสร้างสรรค์และความมีน้ำใจนักกีฬา หลังเรียนของนักเรียนกลุ่มทดลองสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2) ความคิดสร้างสรรค์และความมีน้ำใจนักกีฬา หลังเรียนของนักเรียนกลุ่มทดลองสูงกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 4. ผลประเมินความคิดเห็น พบว่า 1) ด้านครูผู้สอน อยู่ในระดับ มาก (Average = 4.42, SD = 0.36) 2) ด้านวิธีการสอน อยู่ในระดับ มากที่สุด ( Average = 4.59, SD = 0.50) 3) ด้านเนื้อหาวิชา อยู่ในระดับ มาก ( Average = 4.48, SD = 0.53) และ 4) ด้านการวัดและประเมินผล อยู่ในระดับ มาก ( Average = 4.35, SD = 0.62) | th |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | Naresuan University | en_US |
dc.rights | Naresuan University | en_US |
dc.subject | การจัดการเรียนรู้พลศึกษา | th |
dc.subject | ทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์ | th |
dc.subject | ความคิดสร้างสรรค์ | th |
dc.subject | ความมีน้ำใจนักกีฬา | th |
dc.subject | Physical Education | en |
dc.subject | Constructivism | en |
dc.subject | Creativity | en |
dc.subject | Sportsmanship | en |
dc.subject.classification | Arts and Humanities | en |
dc.subject.classification | Education | en |
dc.subject.classification | Training for pre-school teachers | en |
dc.title | THE DEVELOPMENT OF PHYSICAL EDUCATION INSTRUCTIONAL MODEL BASED ON CONSTRUCTIVIST APPROACH FOR DEVELOPING CREATIVE THINKING AND SPORTSMANSHIP FOR ELEMENTARY SCHOOL | en |
dc.title | การพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้พลศึกษาตามแนวทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์เพื่อส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์และความมีน้ำใจนักกีฬาสำหรับนักเรียนระดับประถมศึกษาตอนปลาย | th |
dc.type | Thesis | en |
dc.type | วิทยานิพนธ์ | th |
dc.contributor.coadvisor | Pufa Savagpun | en |
dc.contributor.coadvisor | ภูฟ้า เสวกพันธ์ | th |
dc.contributor.emailadvisor | pufas@nu.ac.th | en_US |
dc.contributor.emailcoadvisor | pufas@nu.ac.th | en_US |
dc.description.degreename | Doctor of Education (Ed.D.) | en |
dc.description.degreename | การศึกษาดุษฎีบัณฑิต (กศ.ด.) | th |
dc.description.degreelevel | Doctoral Degree | en |
dc.description.degreelevel | ปริญญาเอก | th |
dc.description.degreediscipline | Department of Physical Education and Exercise Science | en |
dc.description.degreediscipline | ภาควิชาพลศึกษาและวิทยาศาสตร์การออกกำลังกาย | th |
Appears in Collections: | คณะศึกษาศาสตร์ |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
64031482.pdf | 6.25 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in NU Digital Repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.