Please use this identifier to cite or link to this item: http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/6449
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorNitinai Sanguansrien
dc.contributorนิตินัย สงวนศรีth
dc.contributor.advisorPufa Savagpunen
dc.contributor.advisorภูฟ้า เสวกพันธ์th
dc.contributor.otherNaresuan Universityen
dc.date.accessioned2024-11-20T04:50:33Z-
dc.date.available2024-11-20T04:50:33Z-
dc.date.created2024en_US
dc.date.issued17/11/2024en_US
dc.identifier.urihttp://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/6449-
dc.description.abstractThis research aims to achieve the following objectives: 1) To study and synthesize the components for promoting professional football in higher education institutions, 2) To create and verify the development of these components, and 3) To evaluate the developed components. The research was conducted in three stages. In the first stage, the current state was studied and components for promoting professional football in higher education institutions were synthesized. This stage was divided into two parts: the first part examined the problems in managing professional football teams in higher education institutions, and the second part explored solutions for promoting professional football in higher education institutions. In the second stage, the development components were created and verified. This stage also consisted of two parts: drafting the components and assessing their appropriateness, and verifying the accuracy of the development components.The third stage focused on evaluating the developed components for promoting professional football in higher education institutions.The findings revealed the following: 1. The study of the current state and solutions for managing professional football teams indicated that:     1.1 The problems in managing professional football teams in higher education institutions were found to be at a low level in terms of organizational management (Average = 2.31, S.D. = 0.81), support and motivation (Average = 2.45, S.D. = 0.84), facilities and equipment (Average = 2.27, S.D. = 0.97), coaches and sports experts (Average = 2.40, S.D. = 0.82), sports science (Average = 2.42, S.D. = 0.81), athlete selection (Average = 2.33, S.D. = 0.79), athlete readiness (Average = 2.23, S.D. = 0.67), training (Average = 2.35, S.D. = 0.54), and competition experience (Average = 2.38, S.D. = 0.56).    1.2 The solutions for promoting professional football in higher education institutions were found to be at a high level in terms of organizational management (Average = 4.32, S.D. = 0.38), support and motivation (Average = 4.26, S.D. = 0.34), facilities and equipment (Average = 4.26, S.D. = 0.31), coaches and sports experts (Average = 4.28, S.D. = 0.36), sports science (Average = 4.27, S.D. = 0.35), athlete selection (Average = 4.25, S.D. = 0.28), athlete readiness (Average = 4.21, S.D. = 0.40), training (Average = 4.22, S.D. = 0.30), and competition experience (Average = 4.31, S.D. = 0.26). 2. The draft development components were found to be appropriate and accurate in all evaluated aspects, with high overall averages:    2.1 The appropriateness of the components was high in terms of organizational management (Average = 4.24, S.D. = 0.34), support and motivation (Average = 4.24, S.D. = 0.35), facilities and equipment (Average = 4.27, S.D. = 0.44), coaches and sports experts (Average = 4.29, S.D. = 0.39), sports science (Average = 4.33, S.D. = 0.41), athlete selection (Average = 4.27, S.D. = 0.42), athlete readiness (Average = 4.27, S.D. = 0.47), training (Average = 4.24, S.D. = 0.39), and competition experience (Average = 4.30, S.D. = 0.34).    2.2 The accuracy of the components was high in terms of organizational management (Average = 4.21, S.D. = 0.31), support and motivation (Average = 4.23, S.D. = 0.34), facilities and equipment (Average = 4.26, S.D. = 0.31), coaches and sports experts (Average = 4.27, S.D. = 0.35), sports science (Average = 4.26, S.D. = 0.40), athlete selection (Average = 4.23, S.D. = 0.38), athlete readiness (Average = 4.21, S.D. = 0.42), training (Average = 4.26, S.D. = 0.35), and competition experience (Average = 4.32, S.D. = 0.34). 3. The benefits and feasibility of the developed components were also assessed to be high across all evaluated dimensions:    3.1 The benefits of the development components were high in terms of organizational management (Average = 4.17, S.D. = 0.33), support and motivation (Average = 4.30, S.D. = 0.34), facilities and equipment (Average = 4.25, S.D. = 0.42), coaches and sports experts (Average = 4.26, S.D. = 0.37), sports science (Average = 4.30, S.D. = 0.41), athlete selection (Average = 4.24, S.D. = 0.35), athlete readiness (Average = 4.31, S.D. = 0.47), training (Average = 4.22, S.D. = 0.38), and competition experience (Average = 4.20, S.D. = 0.33).    3.2 The feasibility of the development components was high in terms of organizational management (Average = 4.06, S.D. = 0.40), support and motivation (Average = 4.22, S.D. = 0.36), facilities and equipment (Average = 4.19, S.D. = 0.35), coaches and sports experts (Average = 4.29, S.D. = 0.38), sports science (Average = 4.28, S.D. = 0.37), athlete selection (Average = 4.22, S.D. = 0.27), athlete readiness (Average = 4.19, S.D. = 0.40), training (Average = 4.16, S.D. = 0.35), and competition experience (Average = 4.30, S.D. = 0.27).en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาสภาพและสังเคราะห์องค์ประกอบการส่งเสริมกีฬาฟุตบอลอาชีพในสถาบันอุดมศึกษา 2) เพื่อสร้างและตรวจสอบการพัฒนาองค์ประกอบการส่งเสริมกีฬาฟุตบอลอาชีพในสถาบันอุดมศึกษา  3) เพื่อประเมินการพัฒนาองค์ประกอบการส่งเสริมกีฬาฟุตบอลอาชีพในสถาบันอุดมศึกษา ดำเนินการวิจัยตามขั้นตอน มี 3 ขั้นตอน ได้แก่ ขั้นตอนที่ 1 การศึกษาสภาพและสังเคราะห์องค์ประกอบการส่งเสริมกีฬาฟุตบอลอาชีพในสถาบันอุดมศึกษา โดยศึกษาแบ่งเป็น 2 ส่วนคือ ส่วนที่ 1 ศึกษาสภาพปัญหาการบริหารทีมกีฬาฟุตบอลอาชีพของสถาบันอุดมศึกษา และส่วนที่ 2 การศึกษาแนวทางแก้ไขปัญหาองค์ประกอบการส่งเสริมกีฬาฟุตบอลอาชีพในสถาบันอุดมศึกษา ขั้นตอนที่ 2 การสร้างและตรวจสอบการพัฒนาองค์ประกอบการส่งเสริมกีฬาฟุตบอลอาชีพในสถาบันอุดมศึกษา ประกอบด้วย 2 ส่วน เช่นกันคือ ส่วนที่ 1 การยกร่างองค์ประกอบและความเหมาะสมของการพัฒนาการส่งเสริมกีฬาฟุตบอลอาชีพในสถาบันอุดมศึกษา และส่วนที่ 2 การตรวจสอบและความถูกต้องของการพัฒนาองค์ประกอบการส่งเสริมกีฬาฟุตบอลอาชีพในสถาบันอุดมศึกษา ขั้นตอนที่ 3 การประเมินการพัฒนาองค์ประกอบการส่งเสริมกีฬาฟุตบอลอาชีพในสถาบันอุดมศึกษา ผลการวิจัยพบว่า 1. ผลการศึกษาสภาพปัญหาและแนวทางการดำเนินงานขององค์ประกอบการส่งเสริมกีฬาฟุตบอลอาชีพที่เหมาะสมสำหรับสถาบันอุดมศึกษา    1.1 ผลการศึกษาสภาพปัญหาขององค์ประกอบการส่งเสริมกีฬาฟุตบอลอาชีพที่เหมาะสมสำหรับสถาบันอุดมศึกษา ด้านการบริหารองค์กร มีค่าเฉลี่ยโดยรวม (Average = 2.31, S.D. = 0.81) อยู่ในระดับน้อย ด้านการส่งเสริมสนับสนุนและการจูงใจ มีค่าเฉลี่ยโดยรวม (Average = 2.45, S.D. = 0.84) อยู่ในระดับน้อย ด้านสถานที่ อุปกรณ์ และสิ่งอำนวยความสะดวก มีค่าเฉลี่ยโดยรวม (Average = 2.27, S.D. = 0.97) อยู่ในระดับน้อย ด้านผู้ฝึกสอน/ผู้เชี่ยวชาญกีฬา (Average = 2.40, S.D. = 0.82) อยู่ในระดับน้อย ด้านวิทยาศาสตร์การกีฬา มีค่าเฉลี่ยโดยรวม (Average = 2.42, S.D. = 0.81) อยู่ในระดับน้อย ด้านการคัดเลือกนักกีฬา มีค่าเฉลี่ยโดยรวม (Average  = 2.33, S.D. = 0.79) อยู่ในระดับน้อย   ด้านความพร้อมของนักกีฬา มีค่าเฉลี่ยโดยรวม (Average = 2.23, S.D. = 0.67) อยู่ในระดับน้อย ด้านการฝึกซ้อม มีค่าเฉลี่ยโดยรวม (Average = 2.35, S.D. = 0.54) อยู่ในระดับน้อย ด้านการจัดประสบการณ์ในการแข่งขันของสถาบันอุดมศึกษาในกีฬาฟุตบอลอาชีพ มีค่าเฉลี่ยโดยรวม (Average = 2.38, S.D. = 0.56) อยู่ในระดับน้อย    1.2 ผลการศึกษาแนวทางแก้ไขปัญหา องค์ประกอบการส่งเสริมกีฬาฟุตบอลอาชีพในสถาบันอุดมศึกษา ด้านการบริหารองค์กร มีค่าเฉลี่ยโดยรวม (Average = 4.32, S.D. = 0.38) อยู่ในระดับมาก ด้านการส่งเสริม สนับสนุน และการจูงใจ มีค่าเฉลี่ยโดยรวม (Average = 4.26, S.D. = 0.34) อยู่ในระดับมาก ด้านสถานที่ อุปกรณ์และสิ่งอำนวยความสะดวก มีค่าเฉลี่ยโดยรวม (Average = 4.26, S.D. = 0.31) อยู่ในระดับมาก ด้านผู้ฝึกสอน/ผู้เชี่ยวชาญกีฬา (Average = 4.28, S.D. = 0.36) อยู่ในระดับมาก ด้านวิทยาศาสตร์การกีฬา มีค่าเฉลี่ยโดยรวม (Average = 4.27, S.D. = 0.35) อยู่ในระดับมาก  ด้านการคัดเลือกนักกีฬา มีค่าเฉลี่ยโดยรวม (Average = 4.25, S.D. = 0.28) อยู่ในระดับมาก ด้านความพร้อมของนักกีฬา มีค่าเฉลี่ยโดยรวม (Average = 4.21, S.D. = 0.40) อยู่ในระดับมาก ด้านการฝึกซ้อม มีค่าเฉลี่ยโดยรวม (Average= 4.22, S.D. = 0.30) อยู่ในระดับมาก ด้านการจัดประสบการณ์ในการแข่งขันของสถาบันอุดมศึกษาในกีฬาฟุตบอลอาชีพ มีค่าเฉลี่ยโดยรวม (Average = 4.31, S.D. = 0.26) อยู่ในระดับมาก 2. ผลการศึกษาในส่วนของการยกร่างของรูปแบบในด้านความเหมาะสมและความถูกต้องของการพัฒนาองค์ประกอบการส่งเสริมกีฬาฟุตบอลอาชีพในสถาบันอุดมศึกษา    2.1. ผลการศึกษาความเหมาะสมของรูปแบบการองค์ประกอบการส่งเสริมกีฬาฟุตบอลอาชีพในสถาบันอุดมศึกษา ด้านองค์กร มีค่าเฉลี่ยโดยรวม (Average = 4.24, S.D. = 0.34) อยู่ในระดับมาก ด้านการส่งเสริม สนับสนุน และการจูงใจ มีค่าเฉลี่ยโดยรวม (Average  = 4.24, S.D. = 0.35) อยู่ในระดับมาก ด้านสถานที่ อุปกรณ์และสิ่งอำนวยความสะดวก มีค่าเฉลี่ยโดยรวม (Average = 4.27, S.D. = 0.44) อยู่ในระดับมาก ด้านผู้ฝึกสอน/ผู้เชี่ยวชาญกีฬา ตามความเห็นของผู้ทำแบบสอบถาม พบว่า โดยรวมของทางด้านผู้ฝึกสอนและผู้เชี่ยวชาญกีฬา อยู่ในระดับมาก (Average = 4.29, S.D. = 0.39) ด้านวิทยาศาสตร์การกีฬา มีค่าเฉลี่ยโดยรวม (Average = 4.33, S.D. = 0.41) อยู่ในระดับมาก ด้านการคัดเลือกนักกีฬา มีค่าเฉลี่ยโดยรวม (Average = 4.27, S.D. = 0.42) อยู่ในระดับมากด้านความพร้อมของนักกีฬา มีค่าเฉลี่ยโดยรวม (Average = 27, S.D. = 0.47) อยู่ในระดับมาก  ด้านการฝึกซ้อม มีค่าเฉลี่ยโดยรวม (Average = 4.24, S.D. = 0.39) อยู่ในระดับมาก ด้านการจัดประสบการณ์ในการแข่งขันของสถาบันอุดมศึกษาในกีฬาฟุตบอลอาชีพ มีค่าเฉลี่ยโดยรวม (Average = 4.30, S.D. = 0.34) อยู่ในระดับมาก    2.2. ผลการศึกษาความถูกต้องของรูปแบบการองค์ประกอบการส่งเสริมกีฬาฟุตบอลอาชีพในสถาบันอุดมศึกษา ด้านองค์กร มีค่าเฉลี่ยโดยรวม (Average = 4.21, S.D. = 0.31) อยู่ในระดับมาก ด้านการส่งเสริม สนับสนุน และการจูงใจ มีค่าเฉลี่ยโดยรวม (Average = 4.23, S.D. = 0.34) อยู่ในระดับมาก ด้านสถานที่ อุปกรณ์และสิ่งอำนวยความสะดวก มีค่าเฉลี่ยโดยรวม (Average = 4.26, S.D. = 0.31) อยู่ในระดับมาก ด้านผู้ฝึกสอน/ผู้เชี่ยวชาญกีฬา  (Average = 4.27, S.D. = 0.35) อยู่ในระดับมาก   ด้านวิทยาศาสตร์การกีฬา มีค่าเฉลี่ยโดยรวม (Average = 4.26, S.D. = 0.40) อยู่ในระดับมาก ด้านการคัดเลือกนักกีฬา มีค่าเฉลี่ยโดยรวม (Average = 4.23, S.D. = 0.38) อยู่ในระดับมาก ด้านความพร้อมของนักกีฬา มีค่าเฉลี่ยโดยรวม (Average = 4.21, S.D. = 0.42) อยู่ในระดับมาก ด้านการฝึกซ้อม มีค่าเฉลี่ยโดยรวม ( Average = 4.26, S.D. = 0.35) อยู่ในระดับมาก ด้านการจัดประสบการณ์ในการแข่งขันของสถาบันอุดมศึกษาในกีฬาฟุตบอลอาชีพ มีค่าเฉลี่ยโดยรวม (Average = 4.32, S.D. = 0.34) อยู่ในระดับมาก 3. ผลการศึกษาในส่วนของความเป็นประโยชน์และความเป็นไปได้ของการพัฒนาองค์ประกอบการส่งเสริมกีฬาฟุตบอลอาชีพในสถาบันอุดมศึกษา    3.1. ผลการศึกษาความเป็นประโยชน์ของการพัฒนาองค์ประกอบการส่งเสริมกีฬาฟุตบอลอาชีพในสถาบันอุดมศึกษา ด้านองค์กร มีค่าเฉลี่ยโดยรวม (Average = 4.17, S.D. = 0.33) อยู่ในระดับมาก ด้านการส่งเสริม สนับสนุน และการจูงใจ มีค่าเฉลี่ยโดยรวม (Average = 4.30, S.D. = 0.34) อยู่ในระดับมาก ด้านสถานที่ อุปกรณ์และสิ่งอำนวยความสะดวก มีค่าเฉลี่ยโดยรวม (Average = 4.25, S.D. = 0.42) อยู่ในระดับมาก ด้านผู้ฝึกสอน/ผู้เชี่ยวชาญกีฬา (Average = 4.26, S.D. = 0.37) อยู่ในระดับมาก  ด้านวิทยาศาสตร์การกีฬา มีค่าเฉลี่ยโดยรวม (Average = 4.30, S.D. = 0.41) อยู่ในระดับมาก   ด้านการคัดเลือกนักกีฬา มีค่าเฉลี่ยโดยรวม (  = 4.24, S. D. = 0.35) อยู่ในระดับมาก ด้านความพร้อมของนักกีฬา มีค่าเฉลี่ยโดยรวม (Average = 4.31, S.D. = 0.47) อยู่ในระดับมาก ด้านการฝึกซ้อม มีค่าเฉลี่ยโดยรวม (Average = 4.22, S.D. = 0.38) อยู่ในระดับมาก ด้านการจัดประสบการณ์ในการแข่งขันของสถาบันอุดมศึกษาในกีฬาฟุตบอลอาชีพ มีค่าเฉลี่ยโดยรวม (Average = 4.20, S.D. = 0.33) อยู่ในระดับมาก    3.2. ผลการศึกษาในส่วนของความเป็นไปได้ของการพัฒนาองค์ประกอบการส่งเสริมกีฬาฟุตบอลอาชีพในสถาบันอุดมศึกษา ด้านองค์กร มีค่าเฉลี่ยโดยรวม (Average = 4.06, S.D. = 0.40) อยู่ในระดับมาก ด้านการส่งเสริม สนับสนุน และการจูงใจ มีค่าเฉลี่ยโดยรวม (Average = 4.22, S.D. = 0.36) อยู่ในระดับมาก ด้านสถานที่ อุปกรณ์และสิ่งอำนวยความสะดวก มีค่าเฉลี่ยโดยรวม (Average = 4.19, S.D. = 0.35) อยู่ในระดับมาก ด้านผู้ฝึกสอน/ผู้เชี่ยวชาญกีฬา  (Average = 4.29, S.D. = 0.38) อยู่ในระดับมาก  ด้านวิทยาศาสตร์การกีฬา มีค่าเฉลี่ยโดยรวม (Average = 4.28, S.D. = 0.37) อยู่ในระดับมาก  ด้านการคัดเลือกนักกีฬา มีค่าเฉลี่ยโดยรวม (Average = 4.22, S.D. = 0.27) อยู่ในระดับมาก ด้านความพร้อมของนักกีฬา มีค่าเฉลี่ยโดยรวม (Average = 4.19, S.D. = 0.40) อยู่ในระดับมาก ด้านการฝึกซ้อม มีค่าเฉลี่ยโดยรวม ( Average = 4.16, S.D. = 0.35) อยู่ในระดับมาก ด้านการจัดประสบการณ์ในการแข่งขันของสถาบันอุดมศึกษาในกีฬาฟุตบอลอาชีพ มีค่าเฉลี่ยโดยรวม (Average = 4.30, S. D. = 0.27) อยู่ในระดับมากth
dc.language.isothen_US
dc.publisherNaresuan Universityen_US
dc.rightsNaresuan Universityen_US
dc.subjectการพัฒนาองค์ประกอบth
dc.subjectกีฬาฟุตบอลอาชีพth
dc.subjectสถาบันอุดมศึกษาth
dc.subjectComponent developmenten
dc.subjectProfessional footballen
dc.subjectHigher education institutionsen
dc.subject.classificationArts and Humanitiesen
dc.subject.classificationEducationen
dc.subject.classificationTraining for teachers with subject specialisationen
dc.titleDevelopment of  Professional Football Promotion Factors in Higher Education Institutionsen
dc.titleการพัฒนาองค์ประกอบการส่งเสริมกีฬาฟุตบอลอาชีพในสถาบันอุดมศึกษาth
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
dc.contributor.coadvisorPufa Savagpunen
dc.contributor.coadvisorภูฟ้า เสวกพันธ์th
dc.contributor.emailadvisorpufas@nu.ac.then_US
dc.contributor.emailcoadvisorpufas@nu.ac.then_US
dc.description.degreenameDoctor of Education (Ed.D.)en
dc.description.degreenameการศึกษาดุษฎีบัณฑิต (กศ.ด.)th
dc.description.degreelevelDoctoral Degreeen
dc.description.degreelevelปริญญาเอกth
dc.description.degreedisciplineDepartment of Physical Education and Exercise Scienceen
dc.description.degreedisciplineภาควิชาพลศึกษาและวิทยาศาสตร์การออกกำลังกายth
Appears in Collections:คณะศึกษาศาสตร์

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
64030638.pdf2.47 MBAdobe PDFView/Open


Items in NU Digital Repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.