Please use this identifier to cite or link to this item:
http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/6441
Title: | THE STUDYING OF COMMUNICATION SKILLS FOR CAREERS OF VOCATIONAL STUDENTS BY USING BLENDED LEARNING WITH A MIAP INSTRUCTIONAL APPROACH การศึกษาความสามารถในการพูดสื่อสารในงานอาชีพ ของนักเรียนระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ด้วยการจัดการเรียนรู้แบบผสมผสานร่วมกับกระบวนการสอนแบบ MIAP |
Authors: | AUNCHAYA TONGROT อัณณ์ชญา ทองรศ Omthajit Pansri อ้อมธจิต แป้นศรี Naresuan University Omthajit Pansri อ้อมธจิต แป้นศรี omthajitp@nu.ac.th omthajitp@nu.ac.th |
Keywords: | ความสามารถในการพูดสื่อสาร การจัดการเรียนรู้แบบผสมผสาน กระบวนการสอนแบบ MIAP communication skill blended learning MIAP instructional approach |
Issue Date: | 3 |
Publisher: | Naresuan University |
Abstract: | The objectives of the independent study were 1) to investigate professional verbal communication skills of vocational students by using blended learning with a MIAP instructional approach with 70% criteria. and 2) to explore the satisfaction of students towards blended learning with the MIAP teaching method to enhance professional communication skills of vocational students. The samples was 3rd year in power electrician in the second semester of the 2021 academic year at Phrae Technical College, Phrae Province. The twenty two students participated in this instructional model, which comes from simple random sampling using lottery methods. The experiment took 12 hours. The research tools for gathering the data were the lesson plan of the blended learning with a MIAP instructional approach, communication skills for career assessment and satisfaction survey towards communication skills of vocational students’ development by using blended learning with a MIAP instructional approach. The statistical analysis were the average, standard deviation and T-test.
The results of the research showed that
1. The analytical communication skills for career assessment by using blended learning with a MIAP instructional approach after learning higher than the 70% criteria with statistical significance at the level of .05 level.
2. Student satisfaction towards using blended learning with a MIAP instructional approach showed the highest level of satisfaction with the learning process.The average score (x̄) of 4.56 and the standard deviation (S.D.) of 0.16. การศึกษาค้นคว้าอิสระในครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อ 1) ศึกษาความสามารถในการพูดสื่อสารในงานอาชีพของนักเรียนระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ด้วยการจัดการเรียนรู้แบบผสมผสานร่วมกับกระบวนการสอนแบบ MIAP เทียบกับเกณฑ์ร้อยละ 70 2) ศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการจัดการเรียนรู้แบบผสมผสานร่วมกับกระบวนการสอนแบบ MIAP เพื่อส่งเสริมความสามารถในการพูดสื่อสารในงานอาชีพของนักเรียนระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) กลุ่มตัวอย่าง คือ นักเรียนระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 3 สาขาวิชาช่างไฟฟ้ากำลัง ปีการศึกษา 2564 วิทยาลัยเทคนิคแพร่ จังหวัดแพร่ จำนวนนักเรียน 22 คน ซึ่งมาจากการสุ่มอย่างง่ายด้วยวิธีการจับสลาก ใช้เวลาทดลอง 12 ชั่วโมง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แผนการจัดการเรียนรู้แบบผสมผสานร่วมกับกระบวนการสอนแบบ MIAP แบบประเมินความสามารถในการพูดสื่อสารในงานอาชีพ และแบบประเมินความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการจัดการเรียนรู้แบบผสมผสานร่วมกับกระบวนการสอนแบบ MIAP สถิติที่ใช้วิคราะห์ข้อมูล คือ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที ผลการวิจัย พบว่า 1. ความสามารถในการพูดสื่อสารของนักเรียนระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) หลังการจัดการเรียนรู้แบบผสมผสานร่วมกับกระบวนการสอนแบบ MIAP สูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 70 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2. นักเรียนมีความความพึงพอใจต่อการจัดการเรียนรู้แบบผสมผสานร่วมกับกระบวนการสอนแบบ MIAP อยู่ในระดับ มากที่สุด โดยมีคะแนนเฉลี่ย (x̄) เท่ากับ 4.56 และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) มีค่าเท่ากับ 0.16 |
URI: | http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/6441 |
Appears in Collections: | คณะศึกษาศาสตร์ |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
63091081.pdf | 6.18 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in NU Digital Repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.