Please use this identifier to cite or link to this item: http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/6428
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorWARINYA PONGPAIBOONen
dc.contributorวริญญา พงษ์ไพบูลย์th
dc.contributor.advisorArtorn Nokkaewen
dc.contributor.advisorอาทร นกแก้วth
dc.contributor.otherNaresuan Universityen
dc.date.accessioned2024-11-20T04:50:30Z-
dc.date.available2024-11-20T04:50:30Z-
dc.date.created2022en_US
dc.date.issued3/6/2022en_US
dc.identifier.urihttp://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/6428-
dc.description.abstractThis action research aimed to study an instructional guideline of using creative-based learning to promote creative mathematics problem-solving ability and to study a creative mathematics problem-solving ability after the instruction. Participants of the study were nine fifth-grade students from an extended opportunities school in Lampang province. Research instruments of this study included lesson plans, worksheets, an instructional reflection form, and a creative problem-solving test. The data was analyzed using content analysis and data triangulation. Results revealed a guideline for conducting creative-based learning to foster creative mathematics problem-solving ability including applying real-life open-ended problems that are appropriate to student performance, encouraging a variety of problem posing, brainstorming, exchanging solutions, presenting an idea to the whole class, justifying and criticizing solutions, and evaluating and developing the product. After learning, students showed development mostly in problem-finding skills, fact-finding skills, solution finding, idea finding, and knowledge-creating skills, respectively.en
dc.description.abstractงานวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาแนวทางและศึกษาผลของการจัดการเรียนรู้แบบสร้างสรรค์เป็นฐานที่ส่งเสริมความสามารถในการแก้ปัญหาคณิตศาสตร์อย่างสร้างสรรค์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 เรื่องรูปสี่เหลี่ยม ผู้เข้าร่วมวิจัย คือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 จำนวน 9 คนของโรงเรียนขยายโอกาสแห่งหนึ่งในจังหวัดลำปาง ผู้วิจัยใช้รูปแบบการวิจัยเชิงปฏิบัติการ โดยเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แผนการจัดการเรียนรู้ ใบกิจกรรม แบบสะท้อนผลการจัดการเรียนรู้ และแบบทดสอบวัดความสามารถในการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ของนักเรียน วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้การวิเคราะห์เชิงเนื้อหา และตรวจสอบข้อมูลแบบสามเส้า ผลการวิจัย พบว่า แนวทางจัดการเรียนรู้แบบสร้างสรรค์เป็นฐานที่ส่งเสริมความสามารถในการแก้ปัญหาคณิตศาสตร์อย่างสร้างสรรค์นั้น ครูควรใช้สถานการณ์ปัญหาปลายเปิดที่สอดคล้องกับบริบทในชีวิตจริงและเหมาะสมกับระดับ ความสามารถของนักเรียน ส่งเสริมให้นักเรียนเกิดการตั้งปัญหาคณิตศาสตร์ให้มีความหลากหลาย และร่วมกันระดมสมอง แลกเปลี่ยนเรียนรู้ในการหาคำตอบของปัญหา พร้อมกับการนำเสนอหน้าชั้นเรียนร่วมกันให้เกิดการวิพากษ์และแสดงเหตุผลสนับสนุนชิ้นงานของกลุ่มตนเอง เพื่อประเมินและปรับปรุงชิ้นงานให้เกิดความสร้างสรรค์ และผลของการจัดการเรียนรู้แบบสร้างสรรค์เป็นฐาน พบว่า นักเรียนมีพัฒนาการด้านความสามารถในการแก้ปัญหาคณิตศาสตร์อย่างสร้างสรรค์ ซึ่งเรียงลำดับจากมากไปน้อย ดังนี้ ทักษะการค้นพบปัญหา ทักษะการค้นพบความจริง ทักษะการค้นพบวิธีการแก้ปัญหา ทักษะการค้นพบแนวคิด และทักษะการสร้างสรรค์ความรู้ ตามลำดับth
dc.language.isothen_US
dc.publisherNaresuan Universityen_US
dc.rightsNaresuan Universityen_US
dc.subjectความสามารถในการแก้ปัญหาคณิตศาสตร์อย่างสร้างสรรค์th
dc.subjectการจัดการเรียนรู้แบบสร้างสรรค์เป็นฐานth
dc.subjectรูปสี่เหลี่ยมth
dc.subjectCreative Problem Mathematics Solving Abilityen
dc.subjectCreative Base Learningen
dc.subjectRectangleen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.subject.classificationEducationen
dc.subject.classificationEducation scienceen
dc.titlePromoting Creative Mathematics Problem Solving Ability Regarding to Rectangle of Fifth Grade Students by Using Creativity Base Learningen
dc.titleการส่งเสริมความสามารถในการแก้ปัญหาคณิตศาสตร์อย่างสร้างสรรค์โดยใช้การสอนแบบสร้างสรรค์เป็นฐานของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 เรื่อง รูปสี่เหลี่ยมth
dc.typeIndependent Studyen
dc.typeการค้นคว้าอิสระth
dc.contributor.coadvisorArtorn Nokkaewen
dc.contributor.coadvisorอาทร นกแก้วth
dc.contributor.emailadvisorartornn@nu.ac.then_US
dc.contributor.emailcoadvisorartornn@nu.ac.then_US
dc.description.degreenameMaster of Education (M.Ed.)en
dc.description.degreenameการศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.)th
dc.description.degreelevelMaster's Degreeen
dc.description.degreelevelปริญญาโทth
dc.description.degreedisciplineDepartment of Educationen
dc.description.degreedisciplineภาควิชาการศึกษาth
Appears in Collections:คณะศึกษาศาสตร์

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
63090848.pdf8.64 MBAdobe PDFView/Open


Items in NU Digital Repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.