Please use this identifier to cite or link to this item: http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/6416
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorNUTTHICHA LIMTHONGen
dc.contributorนัทธิชา ลิ้มทองth
dc.contributor.advisorKrittayakan Topithaken
dc.contributor.advisorกฤธยากาญจน์ โตพิทักษ์th
dc.contributor.otherNaresuan Universityen
dc.date.accessioned2024-11-20T04:50:29Z-
dc.date.available2024-11-20T04:50:29Z-
dc.date.created2022en_US
dc.date.issued3/6/2022en_US
dc.identifier.urihttp://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/6416-
dc.description.abstractThis research aimed 1) to create and find a value of efficiency index of collaborative learning management using TAI technique together with a cartoon lesson in order to improve communicative writing among Prathomsuksa 3 students, 2) to compare a communicative writing skill between pre- and post-learning management by employing collaborative learning management using TAI technique with a cartoon lesson to enhance a communicative writing skill among Prathomsuksa 3 students, and 3) to study satisfactions towards Thai subject obtained from collaborative learning management using TAI technique along with a cartoon lesson in order to enhance communicative writing among Prathomsuksa 3 students. The population was 143 Prathomsuksa 3 students in academic year 2021 of Sairung School. The sampling group was 11 Prathomsuksa 3 students in academic year 2021 of Nong Bua Khao Din School selected by purposive sampling. The research instruments were 1) a book of cartoon lesson, 2) a collaborative learning management plan using TAI technique, 3) a competency test of communicative writing skill, and 4) a satisfaction assessment towards Thai subject obtained from post- collaborative learning management using TAI technique together with a cartoon lesson. The statistics used in data analysis were mean, standard deviation, and dependent t-test. The findings revealed that 1) the values of efficiency index of collaborative learning management using TAI technique together with a cartoon lesson in order to improve communicative writing skill among Prathomsuksa 3 students was 0.5015, representing that the students gained a communicative writing skill increased at 0.5015 or 50.15 percent, 2) a communicative writing skill of post-learning management was statistically significantly greater than that of pre-learning management at .05, and 3) overall satisfactions among the students towards Thai subject obtained from collaborative learning management using TAI technique together with a cartoon lesson in order to improve a communicative writing skill were at the highest level (x̅ = 4.76, S.D. = 0.21).en
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีจุดประสงค์เพื่อ 1) สร้างและหาค่าดัชนีประสิทธิผลของการจัดการเรียนรู้แบบกลุ่มร่วมมือเทคนิค TAI ร่วมกับบทเรียนการ์ตูน เพื่อพัฒนาการเขียนเพื่อการสื่อสาร ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 2) เปรียบเทียบทักษะการเขียนเพื่อการสื่อสาร ก่อนและหลังการจัดการเรียนรู้ โดยใช้การจัดการเรียนรู้แบบกลุ่มร่วมมือเทคนิค TAI ร่วมกับบทเรียนการ์ตูน เพื่อพัฒนาทักษะการเขียนเพื่อการสื่อสารของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 และ 3) ศึกษาความพึงพอใจต่อวิชาภาษาไทยที่ได้รับการจัดการเรียนรู้แบบกลุ่มร่วมมือเทคนิค TAI ร่วมกับบทเรียนการ์ตูน เพื่อพัฒนาทักษะการเขียนเพื่อการสื่อสาร ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ประชากร ได้แก่ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2564  กลุ่มโรงเรียนสายรุ้ง ตำบลหนองจิก อำเภอคีรีมาศ จังหวัดสุโขทัย จำนวน 143 คน กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2564 โรงเรียนหนองบัวเขาดิน จำนวน 11 คน โดยการเลือกแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ 1) บทเรียนการ์ตูน จำนวน 1 เล่ม 2) แผนการจัดการเรียนรู้แบบกลุ่มร่วมมือเทคนิค TAI ร่วมกับบทเรียนการ์ตูน 3) แบบวัดทักษะการเขียนเพื่อการสื่อสาร และ 4) แบบประเมินความพึงพอใจต่อวิชาภาษาไทยที่ได้รับหลังการจัดการเรียนรู้แบบกลุ่มร่วมมือเทคนิค TAI ร่วมกับบทเรียนการ์ตูน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบ t-test dependent ผลการวิจัยพบว่า 1) พบว่า ค่าดัชนีประสิทธิผลของการจัดการเรียนรู้แบบกลุ่มร่วมมือเทคนิค TAI ร่วมกับบทเรียนการ์ตูน เพื่อพัฒนาทักษะการเขียนเพื่อการสื่อสาร ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 มีค่าเท่ากับ 0.5015 ซึ่งแสดงว่านักเรียนมีทักษะการเขียนเพื่อการสื่อสารเพิ่มขึ้น 0.5015 หรือคิดเป็นร้อยละ 50.15 2) ทักษะการเขียนเพื่อการสื่อสารหลังการจัดการเรียนรู้สูงกว่าก่อนการจัดการเรียนรู้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05และ 3) ความพึงพอใจต่อวิชาภาษาไทยที่ได้รับการจัดการเรียนรู้แบบกลุ่มร่วมมือเทคนิค TAI ร่วมกับบทเรียนการ์ตูน เพื่อพัฒนาทักษะการเขียนเพื่อการสื่อสาร ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ในภาพรวมนักเรียนมีความพึงพอใจอยู่ในระดับมากที่สุด ( x̅= 4.76, S.D. = 0.21)th
dc.language.isothen_US
dc.publisherNaresuan Universityen_US
dc.rightsNaresuan Universityen_US
dc.subjectการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค TAI ร่วมกับบทเรียนการ์ตูนth
dc.subjectทักษะการเขียนเพื่อการสื่อสารth
dc.subjectCooperative group learning management between TAI technique and cartoon lessonsen
dc.subjectWritten communication skillen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.subject.classificationEducationen
dc.titleCOOPERATIVE GROUP LEARNING MANAGEMENT BETWEEN TAI TECHNIQUE AND CARTOON LESSONS TO IMPROVE WRITTEN COMMUNICATION SKILL OF PRATHOMSUKSA 3 STUDENTSen
dc.titleการจัดการเรียนรู้แบบกลุ่มร่วมมือเทคนิค TAI ร่วมกับบทเรียนการ์ตูน เพื่อพัฒนาทักษะการเขียนเพื่อการสื่อสารของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3th
dc.typeIndependent Studyen
dc.typeการค้นคว้าอิสระth
dc.contributor.coadvisorKrittayakan Topithaken
dc.contributor.coadvisorกฤธยากาญจน์ โตพิทักษ์th
dc.contributor.emailadvisorkrittayakant@nu.ac.then_US
dc.contributor.emailcoadvisorkrittayakant@nu.ac.then_US
dc.description.degreenameMaster of Education (M.Ed.)en
dc.description.degreenameการศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.)th
dc.description.degreelevelMaster's Degreeen
dc.description.degreelevelปริญญาโทth
dc.description.degreedisciplineDepartment of Educationen
dc.description.degreedisciplineภาควิชาการศึกษาth
Appears in Collections:คณะศึกษาศาสตร์

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
63090527.pdf6.68 MBAdobe PDFView/Open


Items in NU Digital Repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.