Please use this identifier to cite or link to this item:
http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/6414
Title: | การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวรรณคดี เรื่อง กาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดงโดยการจัดการเรียนรู้ด้วย CCT-thinkg schools model ร่วมกับบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วนสอน(CAI)ผ่านแอปพลิเคชันบนโทรศัพท์มือถือ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 THE DEVELOPMENT OF ACHIEVEMENT IN THAI LITERATURE“KAP HOR KHLONGPRAPHATTHANTONGDANG” BY LEARNING MANAGEMENT WITH CCT- THINKING SCHOOL MODEL AND COMPUTER ASSISTED INSTRUCTION (CAI.) THROUGH THE APPLICATION ON MOBILE PHONE FOR MATTHAYOMSUKSA 2 STUDENTS |
Authors: | NOPPHARAT KHONGKHON นพรัตน์ คงคอน Songphop Khunmathurot ทรงภพ ขุนมธุรส Naresuan University Songphop Khunmathurot ทรงภพ ขุนมธุรส songphopk@nu.ac.th songphopk@nu.ac.th |
Keywords: | ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวรรณคดี การจัดการเรียนรู้ คอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI) ผ่านแอปพลิเคชันบนโทรศัพท์มือถือ จัดการเรียนรู้ด้วย CCT - THINKING SCHOOLS MODEL literary learning achievement learning management Computer- Assisted Instruction (CAI) through the application on mobile phones learning management with CCT-Thinking Schools Model |
Issue Date: | 2564 |
Publisher: | Naresuan University |
Abstract: | This research aims 1) to improve learning management plans about “KAP HOR KHLONGPRAPHATTHANTONGDANG” by using CCT-Thinking Schools Model together with Computer-Assisted Instruction (CAI) through the application on mobile phones for matthayomsuksa 2 students, 2) to compare literary learning achievements about “KAP HOR KHLONGPRAPHATTHANTONGDANG” between pre- and post-learning management by using CCT-Thinking Schools Model together with Computer-Assisted Instruction (CAI) through the application on mobile phones for matthayomsuksa 2 students, and 3) to study satisfactions among the students towards Computer-Assisted Instruction (CAI) through the application on mobile phones. The population of the research is 115 students from 5 classes of matthayomsuksa 2 who are studying in semester 2 of the academic year 2021 at Padoongrasdra School, Mueng District, Phitsanulok Province, Thailand. The sample of research is 30 Mathayomsuksa 2/1 students counted as 1 class, derived from the simple random sampling, studying in semester 2 of the academic year 2021 at Padoongrasdra School, Mueng District, Phitsanulok Province, Thailand. The research instruments are 1) 5 plans of learning management on Thai literature “KAP HOR KHLONGPRAPHATTHANTONGDANG” by using CCT-Thinking schools Model along with Computer-Assisted Instruction (CAI) through the application on mobile phones for matthayomsuksa 2 students 2)40 items multiple-choice examination of Thai literature “KAP HOR KHLONGPRAPHATTHANTONGDANG” and 3) student satisfaction questionnaires on the computer-assisted instruction (CAI) through the application on mobile phones. The statistics which bring to the analysis of research results are average, percentage, and standard deviation.
The result of independent testing shows that 1) The Appropriateness result in elements of learning management plans about “KAP HOR KHLONGPRAPHATTHANTONGDANG” by using CCT-Thinking Schools Model is in the highest level (x̄=4.58, S.D.=0.03), 2) the literary learning achievement of post-learning on Thai literature “KAP HOR KHLONGPRAPHATTHANTONGDANG” by using CCT-Thinking schools Model and Computer-Assisted Instruction (CAI) through the application on mobile phones among matthayomsuksa 2 students is higher than pre-learning in statistical significance at .05, and 3) the students are most greatly satisfied after learning with Computer-Assisted Instruction (CAI) through the application on mobile phones (x̄=4.96, S.D.= 0.13). การวิจัยนี้มีจุดประสงค์ 1) เพื่อพัฒนาแผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง กาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดง โดยการ จัดการเรียนรู้ด้วย CCT - THINKING SCHOOLS MODEL ร่วมกับ บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI) ผ่านแอปพลิเคชันบนโทรศัพท์มือถือ สําหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 2) เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวรรณคดี เรื่องกาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดง ก่อนและหลังการจัดการเรียนรู้ด้วย CCT - THINKING SCHOOLS MODEL ร่วมกับ บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI) ผ่านแอปพลิเคชันบนโทรศัพท์มือถือ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 และ3) เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI) ผ่านแอปพลิเคชันบนโทรศัพท์มือถือ ประชากร ได้แก่ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564 ของโรงเรียนผดุงราษฎร์ อำเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก จำนวน 5 ห้อง จำนวน 115 คน กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2/1 โรงเรียนผดุงราษฎร์ อำเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564 จำนวน 1 ห้อง จำนวน 30 คน ซึ่งมาจากการสุ่มอย่างง่ายด้วยการจับฉลาก (SIMPLE RANDOM SAMPLING ) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย 1) แผนการจัดการเรียนรู้เรื่องกาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดง โดยการจัดการเรียนรู้ด้วย CCT - THINKING SCHOOLS MODEL ร่วมกับ บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI) ผ่านแอปพลิเคชันบนโทรศัพท์มือถือ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 จำนวน 5 แผน 2) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเรื่องกาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดงเป็นแบบทดสอบปรนัยชนิดเลือกตอบ 4 ตัวเลือก จำนวน 40 ข้อ และ3) แบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI) ผ่านแอปพลิเคชันบนโทรศัพท์มือถือ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ร้อยละ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานการทดสอบ t-test dependent ผลการวิจัยพบว่า 1) ผลความเหมาะสมในองค์ประกอบของแผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง กาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดง โดยการจัดการเรียนรู้ด้วย CCT - THINKING SCHOOLS MODEL อยู่ในระดับมากที่สุด (x̄=4.58, S.D.=0.03) 2) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวรรณคดี เรื่องกาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดงของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 หลังการจัดการเรียนรู้ด้วย CCT - THINKING SCHOOLS MODEL ร่วมกับ บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI) ผ่านแอปพลิเคชันบนโทรศัพท์มือถือสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ .05 และ 3) นักเรียนมีความพึงพอใจหลังการเรียนรู้ด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI) ผ่านแอปพลิเคชันบนโทรศัพท์มือถืออยู่ในระดับมากที่สุด (x̄= 4.96, S.D.= 0.13) |
URI: | http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/6414 |
Appears in Collections: | คณะศึกษาศาสตร์ |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
NoppharatKhongkhon.pdf | 3.43 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in NU Digital Repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.