Please use this identifier to cite or link to this item: http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/6410
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorYanatip Wongsupaen
dc.contributorญาณาธิป วงศ์สุภาth
dc.contributor.advisorWichian Thamrongsotthisakulen
dc.contributor.advisorวิเชียร ธำรงโสตถิสกุลth
dc.contributor.otherNaresuan Universityen
dc.date.accessioned2024-11-20T04:50:25Z-
dc.date.available2024-11-20T04:50:25Z-
dc.date.created2022en_US
dc.date.issued26/10/2022en_US
dc.identifier.urihttp://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/6410-
dc.description.abstractThe purpose of this study aims to 1) create and verify the efficiency of the development online learning of phenomenon based learning and reflective thinking to develop empathy in cyberbullying for grade 12 students based on the criterion of 75/75 and 2) to compare empathy in cyberbullying of students before and after using activities by using online learning of phenomenon based learning and reflective thinking to develop empathy in cyberbullying for grade 12 students. The process of research was research and development. A sample group was twenty-one twelfth grade students who were studying during semester 2 academic year 2021 at Nakhonbangyang Pittayakom School that were chosen by Cluster Random Sampling. The random unit was classroom. The research instruments were the learning activities by using online learning of phenomenon based learning and reflective thinking and the empathy questionnaires. The data of this research were analyzed by mean, standard deviation, and t-test for dependent. The research results were as follow: 1. The online learning of phenomenon based learning and reflective thinking to develop empathy in cyberbullying for grade 12 students has the efficiency at 74.44/75.41 2. The twelfth grade students who were learned through online learning of phenomenon based learning and reflective thinking have comparison of empathy in cyberbullying after learning higher than before learning with statistical significance at the level of .05.en
dc.description.abstractการวิจัยในครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อ 1) สร้างและหาประสิทธิภาพของกิจกรรมการเรียนรู้แบบออนไลน์โดยใช้ปรากฎการณ์เป็นฐานร่วมกับการสะท้อนคิด เพื่อเสริมสร้างการรู้ซึ้งถึงความรู้สึกในการกลั่นแกล้งกันบนโลกไซเบอร์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ตามเกณฑ์ 75/75 2) ทดลองใช้กิจกรรมการเรียนรู้แบบออนไลน์โดยใช้ปรากฎการณ์เป็นฐานร่วมกับการสะท้อนคิด เพื่อเสริมสร้างการรู้ซึ้งถึงความรู้สึกในการกลั่นแกล้งกันบนโลกไซเบอร์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โดยเปรียบเทียบการรู้ซึ้งถึงความรู้สึกในการกลั่นแกล้งกันบนโลกไซเบอร์ก่อนและหลังเรียนด้วยกิจกรรมการเรียนรู้ ดำเนินการศึกษาค้นคว้าตามกระบวนการวิจัยและพัฒนา (Research and Development) มีกลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564 โรงเรียนนครบางยางพิทยาคม จำนวน 21 คน ได้มาจากการสุ่มแบบกลุ่ม (Cluster Random Sampling) โดยใช้ห้องเรียนเป็นหน่วยในการสุ่ม เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ กิจกรรมการเรียนรู้แบบออนไลน์โดยใช้ปรากฎการณ์เป็นฐานร่วมกับการสะท้อนคิด แบบวัดการรู้ซึ้งถึงความรู้สึก ในการกลั่นแกล้งกันบนโลกไซเบอร์ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติทดสอบค่าที (t-test dependent) ผลการวิจัยพบว่า 1. กิจกรรมการเรียนรู้แบบออนไลน์โดยใช้ปรากฎการณ์เป็นฐานร่วมกับการสะท้อนคิด เพื่อเสริมสร้างการรู้ซึ้งถึงความรู้สึกในการกลั่นแกล้งกันบนโลกไซเบอร์    ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 มีประสิทธิภาพเท่ากับ 74.44/75.41 2. นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6   ที่ได้รับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบออนไลน์    โดยใช้ปรากฎการณ์เป็นฐานร่วมกับการสะท้อนคิด     มีการรู้ซึ้งถึงความรู้สึกในการกลั่นแกล้งกันบนโลกไซเบอร์ หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05th
dc.language.isothen_US
dc.publisherNaresuan Universityen_US
dc.rightsNaresuan Universityen_US
dc.subjectกิจกรรมการเรียนรู้แบบออนไลน์th
dc.subjectปรากฎการณ์เป็นฐานth
dc.subjectการกลั่นแกล้งกันบนโลกไซเบอร์th
dc.subjectการรู้ซึ้งถึงความรู้สึกth
dc.subjectการสะท้อนคิดth
dc.subjectOnline Learning Activitiesen
dc.subjectPhenomenon Based Learningen
dc.subjectReflective Thinkingen
dc.subjectEmpathyen
dc.subjectCyberbullyingen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.subject.classificationEducationen
dc.subject.classificationEducation scienceen
dc.titleOnline Learning Development of Phenomenon-based Learning and Reflective Thinking to Develop Empathy in Cyberbullying for Grade 12 Studentsen
dc.titleการพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้แบบออนไลน์โดยใช้ปรากฎการณ์เป็นฐานร่วมกับการสะท้อนคิด เพื่อเสริมสร้างการรู้ซึ้งถึงความรู้สึกในการกลั่นแกล้งกันบนโลกไซเบอร์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6th
dc.typeIndependent Studyen
dc.typeการค้นคว้าอิสระth
dc.contributor.coadvisorWichian Thamrongsotthisakulen
dc.contributor.coadvisorวิเชียร ธำรงโสตถิสกุลth
dc.contributor.emailadvisorwichianth@nu.ac.then_US
dc.contributor.emailcoadvisorwichianth@nu.ac.then_US
dc.description.degreenameMaster of Education (M.Ed.)en
dc.description.degreenameการศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.)th
dc.description.degreelevelMaster's Degreeen
dc.description.degreelevelปริญญาโทth
dc.description.degreedisciplineDepartment of Educationen
dc.description.degreedisciplineภาควิชาการศึกษาth
Appears in Collections:คณะศึกษาศาสตร์

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
63090343.pdf2.89 MBAdobe PDFView/Open


Items in NU Digital Repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.