Please use this identifier to cite or link to this item: http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/6409
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorCHUTIMA WALUMASen
dc.contributorชุติมา เวฬุมาศth
dc.contributor.advisorKanchana Witchayapakornen
dc.contributor.advisorกาญจนา วิชญาปกรณ์th
dc.contributor.otherNaresuan Universityen
dc.date.accessioned2024-11-20T04:50:25Z-
dc.date.available2024-11-20T04:50:25Z-
dc.date.created2022en_US
dc.date.issued3/6/2022en_US
dc.identifier.urihttp://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/6409-
dc.description.abstract    The objectives of this research were 1) To compare the score of pre-test and pose-test of communication writing with creativity-based learning technique and game. 2) To study the students’ satisfaction of the students of communication writing ability’s grade 6 students with creativity-based learning technique and game. The samples were the 10 semester 2/2564 students of ability’s grade 6 of Watphothale School, using cluster purposive sampling. The research instruments consisted of 1) There were 10 plans of communication writing with creativity-based learning technique and game. 2) Innovative game. 3) The evaluation of communication writing. 4) The questionnaire on the satisfaction with the learning. The statistics used in the study were basic statistics, mean, standard deviation, and t-test for dependent samples. The results found that: 1) The comparison of the learning, the pose-test is higher than the pre-test at .05 significant. 2) the students’ satisfaction of the students was overall at the highest level. (x̄=4.81, S.D=0.12)en
dc.description.abstractงานวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เปรียบเทียบความสามารถการเขียนสื่อสาร ก่อนเรียนและหลังเรียน โดยใช้เทคนิคความคิดสร้างสรรค์เป็นฐาน ร่วมกับ เกม 2) ศึกษาความพึงพอใจ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ที่มีต่อการจัดการเรียนรู้เรื่องการเขียนสื่อสาร โดยใช้เทคนิคความคิดสร้างสรรค์เป็นฐาน ร่วมกับ เกม กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ นักเรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนวัดโพทะเล จำนวน 10 คน ได้มาโดยวิธีเลือกแบบเจาะจง (Purposive sampling)  เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ 1) แผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคนิค ความคิดสร้างสรรค์เป็นฐาน เพื่อส่งเสริมการเขียนสื่อสารของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 จำนวน 10 แผน 2) นวัตกรรมเกม 3) แบบทดสอบวัดความสามารถ เรื่องการเขียนสื่อสาร 4) แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการจัดการเรียนรู้ สถิติที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ สถิติพื้นฐาน ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่า t-test แบบ Dependent ผลการวิจัยพบว่า 1) ความสามารถทางการเขียนสื่อสารหลังการจัดการเรียนรู้สูงกว่า ก่อนการจัดการเรียนรู้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05  2) ความพึงพอใจของนักเรียน โดยภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด (x̄=4.81, S.D=0.12)th
dc.language.isothen_US
dc.publisherNaresuan Universityen_US
dc.rightsNaresuan Universityen_US
dc.subjectการเขียนสื่อสาร, เทคนิคการจัดการเรียนรู้แบบความคิดสร้างสรรค์เป็นฐาน, เทคนิค GAMEth
dc.subjectCommunication Writing Skill Creativity-Based Learning Gameen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.subject.classificationEducationen
dc.titleDEVELOPMENT OF COMMUNICATION WRITING ABILITY’S GRADE 6 STUDENTS WITH CREATIVITY-BASED LEARNING TECHNIQUE AND GAMEen
dc.titleการพัฒนาความสามารถการเขียนสื่อสารของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โดยใช้เทคนิคความคิดสร้างสรรค์เป็นฐาน ร่วมกับ เกมth
dc.typeIndependent Studyen
dc.typeการค้นคว้าอิสระth
dc.contributor.coadvisorKanchana Witchayapakornen
dc.contributor.coadvisorกาญจนา วิชญาปกรณ์th
dc.contributor.emailadvisorkanchanaw@nu.ac.then_US
dc.contributor.emailcoadvisorkanchanaw@nu.ac.then_US
dc.description.degreenameMaster of Education (M.Ed.)en
dc.description.degreenameการศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.)th
dc.description.degreelevelMaster's Degreeen
dc.description.degreelevelปริญญาโทth
dc.description.degreedisciplineDepartment of Educationen
dc.description.degreedisciplineภาควิชาการศึกษาth
Appears in Collections:คณะศึกษาศาสตร์

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
63090336.pdf7.74 MBAdobe PDFView/Open


Items in NU Digital Repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.