Please use this identifier to cite or link to this item: http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/6407
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorCHARINRAT DUANGTHUMen
dc.contributorชรินรัตน์ ด้วงธรรมth
dc.contributor.advisorWanintorn Poonpaiboonpipaten
dc.contributor.advisorวนินทร พูนไพบูลย์พิพัฒน์th
dc.contributor.otherNaresuan Universityen
dc.date.accessioned2024-11-20T04:50:24Z-
dc.date.available2024-11-20T04:50:24Z-
dc.date.created2022en_US
dc.date.issued3/6/2022en_US
dc.identifier.urihttp://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/6407-
dc.description.abstractThis research aimed to study the online learning implementation based on mathematizing process to enhance mathematical literacy, and to study the effects of online learning implementation based on mathematizing process on mathematical literacy in the topic of probability of grade 11 students. The participants were 37 students in grade 11 of high school in Phetchabun Province in the second semester of 2021 academic year. The research methodology was the action research comprising of 3 cycles and took totally 14 hours in this study. The instruments used in the research were three lesson plans based on mathematising process in the topic of probability, activity sheets, reflective learning journals, and mathematical literacy ability test. Data were analyzed by content analysis and data creditability by triangulation method. The results revealed that 1. The learning approach through mathematizing process in the topic of probability composed of 5 steps as follow: 1) starting with the problem situated in reality, 2) identifying the problem according to the mathematical concepts, 3) making the problem into the mathematical problem, 4) solving the mathematical problem, and 5) reflecting the mathematical solution in terms of the real world. Furthermore, the teacher should emphasize on choosing situation in a context relevent to the real world or useful for student, using question lead to problem situations and stimulating questions to lead together discussion, reviewing students' fundamental knowledge required for solving problems, giving advice in breakout room immediately and preparation of media and programs for the online learning implementation. 2. The students appeared to have development of mathematical literacy in 3 processes, the students had the greatest improvement in thinking/transforming situations in mathematical problems, followed by the use of mathematical principles and processes to solve problems and interpreting and evaluating the results, respectively.en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาแนวทางการจัดการเรียนรู้ออนไลน์ตามกระบวนการคิดให้เป็นคณิตศาสตร์ที่พัฒนาความฉลาดรู้ด้านคณิตศาสตร์ และเพื่อศึกษาผลการจัดการเรียนรู้ออนไลน์ตามกระบวนการคิดให้เป็นคณิตศาสตร์ที่มีต่อความฉลาดรู้ด้านคณิตศาสตร์ เรื่อง ความน่าจะเป็น ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ผู้เข้าร่วมวิจัย คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 จำนวน 37 คน ของโรงเรียนมัธยมศึกษาแห่งหนึ่งในจังหวัดเพชรบูรณ์ ในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564 ผู้วิจัยใช้รูปแบบการวิจัยปฏิบัติการ จำนวน 3 วงจรปฏิบัติการ โดยใช้ระยะเวลาทั้งหมด 14 ชั่วโมง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แผนการจัดการเรียนรู้ออนไลน์ตามกระบวนการคิดให้เป็นคณิตศาสตร์ เรื่อง ความน่าจะเป็น จำนวน 3 แผน ใบกิจกรรม แบบสะท้อนผลการจัดการเรียนรู้ และแบบทดสอบวัดความฉลาดรู้ด้านคณิตศาสตร์ของนักเรียน วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้การวิเคราะห์เชิงเนื้อหา และตรวจสอบข้อมูลแบบสามเส้า ผลการวิจัยพบว่า 1. แนวทางการจัดการเรียนรู้ด้วยกระบวนการคิดให้เป็นคณิตศาสตร์ เรื่อง ความน่าจะเป็น มีขั้นตอนการจัดการเรียนรู้ 5 ขั้น ได้แก่ ขั้นที่ 1 ขั้นแสดงปัญหาที่มีอยู่ในชีวิตจริง ขั้นที่ 2 ขั้นจัดให้อยู่ในรูปแบบตามแนวคิดทางคณิตศาสตร์ ขั้นที่ 3 ขั้นแปลงปัญหาในชีวิตจริงเป็นปัญหาทางคณิตศาสตร์ ขั้นที่ 4 ขั้นแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ และขั้นที่ 5 ขั้นแปลผลการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์กลับเป็นปัญหาในชีวิตจริง มีประเด็นที่ควรเน้น ได้แก่ การใช้สถานการณ์ปัญหาที่น่าสนใจ เกี่ยวข้องกับชีวิตจริง ใกล้ตัว หรือมีประโยชน์ต่อนักเรียน การใช้คำถามนำเข้าสู่สถานการณ์ปัญหาและคำถามกระตุ้นคิดเพื่อนำสู่การอภิปรายร่วมกัน การทบทวนความรู้พื้นฐานที่จำเป็นต่อการแก้ปัญหาในสถานการณ์ชีวิตจริง การให้คำแนะนำอย่างทันท่วงทีเมื่อนักเรียนติดปัญหาหรือมีข้อสงสัยในการทำกิจกรรมกลุ่มในห้องย่อย (Breakout Room) และการเตรียมความพร้อมของสื่อและโปรแกรมสำหรับการจัดการเรียนรู้ออนไลน์ 2. นักเรียนมีพัฒนาการของความฉลาดรู้ด้านคณิตศาสตร์ทั้ง 3 กระบวนการ โดยนักเรียนมีพัฒนาการการคิด/แปลงสถานการณ์ของปัญหาในเชิงคณิตศาสตร์มากที่สุด รองลงมาคือ การใช้หลักการและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ในการแก้ปัญหา และการตีความและประเมินผลลัพธ์ ตามลำดับth
dc.language.isothen_US
dc.publisherNaresuan Universityen_US
dc.rightsNaresuan Universityen_US
dc.subjectการจัดการเรียนรู้ออนไลน์th
dc.subjectกระบวนการคิดให้เป็นคณิตศาสตร์th
dc.subjectความฉลาดรู้ด้านคณิตศาสตร์th
dc.subjectความน่าจะเป็นth
dc.subjectOnline Learningen
dc.subjectMathematizing Processen
dc.subjectMathematical Literacyen
dc.subjectProbabilityen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.subject.classificationEducationen
dc.subject.classificationEducation scienceen
dc.titleTHE DEVELOPMENT OF MATHEMATICAL LITERACY THROUGH ONLINE LEARNING INPLEMENTATION BASED ON MATHEMATIZING PROCESS IN THE TOPIC OF PROBABILITY FOR GRADE 11 STUDENTSen
dc.titleการพัฒนาความฉลาดรู้ด้านคณิตศาสตร์ด้วยการจัดการเรียนรู้ออนไลน์ตามกระบวนการคิดให้เป็นคณิตศาสตร์ เรื่อง ความน่าจะเป็น ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5th
dc.typeIndependent Studyen
dc.typeการค้นคว้าอิสระth
dc.contributor.coadvisorWanintorn Poonpaiboonpipaten
dc.contributor.coadvisorวนินทร พูนไพบูลย์พิพัฒน์th
dc.contributor.emailadvisorwanintorns@nu.ac.then_US
dc.contributor.emailcoadvisorwanintorns@nu.ac.then_US
dc.description.degreenameMaster of Education (M.Ed.)en
dc.description.degreenameการศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.)th
dc.description.degreelevelMaster's Degreeen
dc.description.degreelevelปริญญาโทth
dc.description.degreedisciplineDepartment of Educationen
dc.description.degreedisciplineภาควิชาการศึกษาth
Appears in Collections:คณะศึกษาศาสตร์

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
63090305.pdf9.69 MBAdobe PDFView/Open


Items in NU Digital Repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.