Please use this identifier to cite or link to this item: http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/6406
Title: THE DEVELOPMENT OF CRITICAL READING ABILITY OF MATHAYOMSUKSA 3 STUDENTS BY PHENOMENON BASED LEARNING  WITH  SIX THINKING HAT
การพัฒนาความสามารถการอ่านอย่างมีวิจารณญาณของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดยใช้การจัดการเรียนรู้แบบปรากฏการณ์เป็นฐานร่วมกับแนวคิดหมวกหกใบ
Authors: CHADAPRON TUBBOON
ชฎาพร ทับบุญ
Omthajit Pansri
อ้อมธจิต แป้นศรี
Naresuan University
Omthajit Pansri
อ้อมธจิต แป้นศรี
omthajitp@nu.ac.th
omthajitp@nu.ac.th
Keywords: การอ่านอย่างมีวิจารณญาณ
ปรากฏการณ์เป็นฐาน
แนวคิดหมวกหกใบ
Critical reading
Phenomenon-Based Learning
Six Thinking Hats Concept
Issue Date:  3
Publisher: Naresuan University
Abstract:          The purposes of this research were 1) To compare the critical reading abilities of Mathayomsuksa 3 students before and after using Phenomenon-Based Learning with the Six Thinking Hats concept. 2) To study the satisfaction of Mathayomsuksa 3 students who received a Phenomenon-Based Learning with the Six Thinking Hats concept. Population and sample. Populations include Mathayomsuksa 3 students, semester 2, academic year 2021, secondary schools expanding educational opportunities.TaphanHin District. Phichit Province, 4 schools. The sample group was students in Mathayomsuksa 3, the second semester of the academic year 2021, Wat Khao Ruak School. Taphan Hin District Phichit Province, 1 classroom, 19 students. Which were selected by Purposive Sampling.The research instruments were; 1) A learning management plan for developing critical reading abilities of Mathayomsuksa 3 students using a phenomenal-based learning management together with the Six Thinking Hats concept. 2) Critical reading ability test. 3) The satisfaction questionnaire of Grade 3 students who received a Phenomenon-Based Learning Management with the Six Thinking Hats concept.Data analysis using mean (x̄) standard deviation (S.D.) and t-test dependent            The results of the research revealed that;            1) The results of the comparison of the ability to read critical of Mathayomsuksa 3 students who received a Phenomenon-Based Learning with the Six Thinking Hats concept.Have higher scores after than before Learning difference with statistical significance at the level of .05             2) The results of the satisfaction questionnaire of Mathayomsuksa 3 students who received a Phenomenon-Based Learning Management with the Six Thinking Hats concept Satisfaction was at the highest level. (x̄ = 4.97, S.D. = 0.20)
          การวิจัยครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายคือ 1) เพื่อเปรียบเทียบความสามารถการอ่านอย่างมีวิจารณญาณของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ก่อนและหลังการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปรากฏการณ์เป็นฐานร่วมกับแนวคิดหมวกหกใบ 2) เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปรากฎการณ์เป็นฐานร่วมกับแนวคิดหมวกหกใบ ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ประชากร ได้แก่ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ภาคเรียนที่ 2  ปีการศึกษา 2564 โรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา อำเภอตะพานหิน จังหวัดพิจิตร จำนวน 4 โรงเรียน กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564 โรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษาโรงเรียนวัดเขารวก อำเภอตะพานหิน จังหวัดพิจิตร จำนวน 1 ห้องเรียน นักเรียนจำนวน 19 คน ได้มาโดยวิธีการเลือกแบบเจาะจง (Purposive  Sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ 1) แผนการจัดการเรียนรู้การพัฒนาความสามารถการอ่านอย่างมีวิจารณญาณของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดยใช้การจัดการเรียนรู้แบบปรากฏการณ์เป็นฐานร่วมกับแนวคิดหมวกหกใบ 2) แบบทดสอบวัดความสามารถการอ่านอย่างมีวิจารณญาณ 3) แบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้แบบปรากฏการณ์เป็นฐานร่วมกับแนวคิดหมวกหกใบ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ ค่าเฉลี่ย (x̄) ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) และการทดสอบหาค่า t-test แบบ dependent                         ผลการวิจัยพบว่า           1.ผลการเปรียบเทียบความสามารถการอ่านอย่างมีวิจารณญาณ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปรากฏการณ์เป็นฐานร่วมกับแนวคิดหมวกหกใบ มีคะแนนหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05           2.ผลการศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปรากฏการณ์เป็นฐานร่วมกับแนวคิดหมวกหกใบ มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมากที่สุด (x̄ = 4.97, S.D. = 0.20)
URI: http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/6406
Appears in Collections:คณะศึกษาศาสตร์

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
63090282.pdf4.68 MBAdobe PDFView/Open


Items in NU Digital Repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.