Please use this identifier to cite or link to this item: http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/6400
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorPHONGTHEP PROMTRUTen
dc.contributorพงศ์เทพ พรมตรุษth
dc.contributor.advisorChalong Chatruprachewinen
dc.contributor.advisorฉลอง ชาตรูประชีวินth
dc.contributor.otherNaresuan Universityen
dc.date.accessioned2024-11-20T04:50:23Z-
dc.date.available2024-11-20T04:50:23Z-
dc.date.created2022en_US
dc.date.issued3/6/2022en_US
dc.identifier.urihttp://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/6400-
dc.description.abstractThe purpose of this research were to study of the needs and the guidelines the development on for learning management of the teachers in the schools under the office of Sukhothai Primary Educational Service Area 1. The first process is about the study of the needs on the development for learning management of the teacher, the sample in this study comprised, 297 teachers by Krejcie and Morgan and the stratified random sampling is about the districts. The tools used to collect data were the questionnaire on study a development of teachers the need on at school under the office of Sukhothai Primary Educational Service Area 1 which applied by mean, standard deviation and priority need index (PNI modified). The second process is about the guidelines on the development for learning management of the teachers in the schools under the office of Sukhothai Primary Educational Service Area 1, the informant group is 3 experts by purposive sampling, the collect data is interviewing and the analysis data with the content analysis. The research results were as follows: 1) The result in a study of the needs on development for learning management of the teachers in the schools under the office of Sukhothai Primary Educational Service Area 1. On the whole of priority needs index equal 0.133. When considering each single at the high level is the learning management, PNI equal 0.151. The second most is the measurement and assessment, PNI equal 0.150 , the instructional media and innovation , PNI is 0.149 ,the conclusion after instruction plan ,PNI 0.138  And then the lowest of priority needs index is the preparation of instruction plan ,PNI 0.131. 2) There were 10 guidelines of development for learning management of the teachers in the schools under the office of Sukhothai primary educational service area 1. Including 1) the preparation of instruction plan should be development themselves of teachers and staff in the operation and PLC group for the guidelines in the development of instruction plan as the skill thinking. 2) Learning management should be management with the operation by PLC groups of the learning management design and control ling, following and developing from director and educational supervisor to achieve for objective in learning management. 3) The instructional media and innovation should be development all teachers and staff of knowledge and skill of media and innovation. The type of development is meeting to use the media and innovation for improve and develop with learning management in direct of academic standards as efficiencies. 4) The measurement an assessment should be provide training of operation with teachers and staff from the professional of measurement and assessment and encourage the teachers to do it by themselves. And exchange the knowledge with another after the training, and they were practical from making the measurement and assessment by PLC group inside and outside the school. 5) The conclusion after instruction plan should be encouragement and development with teachers and staff at school about the conclusion after instruction plan of student by PLC group for exchange the knowledge with another within the school. And then the teachers and staff of school should be making their worksheet, work piece and portfolio as the students, and the director should be controlling and following.en
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความต้องการจำเป็นและแนวทางการพัฒนาการจัดการเรียนรู้ของครูโรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุโขทัย เขต 1 โดยวิธีการดำเนินการวิจัย ขั้นตอนที่ 1 การศึกษาความต้องการจำเป็นในการพัฒนาการจัดการเรียนรู้ของครู กลุ่มผู้ให้ข้อมูล ครู จำนวน 297 คน ได้จากการกำหนดขนาดของกลุ่มตัวอย่างตามตารางของ Krejcie and Morgan และทำการสุ่มแบบแบ่งชั้นตามอำเภอ เครื่องมือการวิจัยคือ แบบสอบถามเพื่อหาความต้องการจำเป็นในการพัฒนาการจัดการเรียนรู้ของครูโรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุโขทัย เขต 1 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าดัชนีความต้องการจำเป็น (PNI Modified) ขั้นตอนที่ 2 แนวทางการพัฒนาการจัดการเรียนรู้ของครูโรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุโขทัย เขต 1 กลุ่มผู้ให้ข้อมูลได้แก่ผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 3 คนได้มาโดยเลือกแบบเจาะจง เก็บรวบรวมข้อมูลโดยการสัมภาษณ์  และวิเคราะห์ข้อมูลด้วยการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัยพบว่า 1. การศึกษาความต้องการจำเป็นในการพัฒนาการจัดการเรียนรู้ของครูโรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุโขทัย เขต 1 ค่าดัชนีความต้องการจำเป็นในภาพรวม เท่ากับ 0.133 เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ด้านที่มีค่าดัชนีความต้องการจำเป็นสูงที่สุด ได้แก่ ด้านการดำเนินการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ (PNIModified = 0.151) รองลงมาได้แก่ ด้านการวัดผลและประเมินผล (PNIModified = 0.150) ด้านจัดทำสื่อและนวัตกรรม (PNIModified = 0.149) ด้านการสรุปหลังการจัดการเรียนรู้ (PNIModified = 0.138) และด้านที่มีดัชนีความต้องการจำเป็นต่ำที่สุด คือ ด้านการเตรียมการวางแผนการจัดการเรียนรู้ (PNIModified = 0.131) 2. แนวทางการพัฒนาการจัดการเรียนรู้ของครูโรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุโขทัย เขต 1 จำนวน 5 แนวทาง ประกอบด้วย 1) ด้านการเตรียมการวางแผนการจัดการเรียนรู้ มีแนวทางการพัฒนาโดยให้ ครูและบุคลากรมีการพัฒนาตนเอง ในเชิงปฏิบัติการและมีการ สร้าง PLC เพื่อให้เกิดแนวทางในการพัฒนาการจัดการเรียนรู้ที่เน้นทักษะกระบวนการคิด 2) ด้านการดำเนินการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ มีแนวทางการพัฒนาโดย การดำเนินการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ในเชิงปฏิบัติการ ในรูปแบบ PLC ของการออกแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยมีการ กำกับ ติดตาม และพัฒนา จากผู้อำนวยการและศึกษานิเทศก์ เพื่อให้ผู้เรียนบรรลุวัตถุประสงค์ตามแผนการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ 3) ด้านการจัดทำสื่อและนวัตกรรม มีแนวทางการพัฒนาโดยให้ มีการพัฒนาครูและบุคลากรในด้านความรู้ และด้านทักษะของการจัดทำสื่อและเทคโนโลยีโดยใช้รูปแบบในการอบรมการใช้สื่อและเทคโนโลยี เพื่อนำมาพัฒนา ปรับปรุง การจัดการเรียนการสอนให้ตรงตามมาตรฐานการเรียนรู้เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผล 4) ด้านการวัดและประเมินผล มีแนวทางการพัฒนาโดยมีการจัดอบรมเชิงปฏิบัติการให้ครูและบุคลากรในสถานศึกษา จากผู้เชี่ยวชาญที่มีความรู้ความสามารถในการจัดทำเครื่องมือเกี่ยวกับการวัดและประเมินผลและส่งเสริมให้ครูสร้างเครื่องมือด้วยตนเอง  มีการแลกเปลี่ยนความรู้ที่ได้รับจากการอบรม และลงมือปฏิบัติจริงในการสร้างเครื่องมือวัดและประเมินผล โดยใช้กระบวนการ PLC ทั้งภายในสถานศึกษาและภายนอกสถานศึกษา 5) ด้านการสรุปหลังการจัดการเรียนรู้ มีแนวทางการพัฒนาโดย มีการส่งเสริม พัฒนาครูและบุคลากรภายในสถานศึกษาเกี่ยวกับการสรุปหลังการจัดการเรียนรู้ของผู้เรียนโดยการ PLC แลกเปลี่ยน ความรู้ของ ครูและบุคลากรของสถานศึกษา ควรมีการส่งเสริม ให้ครูและบุคลากรในสถานศึกษา จัดทำชิ้นงาน ใบงาน ผลงาน และแฟ้มสะสมผลงาน ของผู้เรียนโดยมีการกำกับติดตาม ของผู้บริหารสถานศึกษาth
dc.language.isothen_US
dc.publisherNaresuan Universityen_US
dc.rightsNaresuan Universityen_US
dc.subjectการศึกษาความต้องการจำเป็นth
dc.subjectการพัฒนาการจัดการเรียนรู้ของครูสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุโขทัย เขต 1th
dc.subjectA study of the needs.en
dc.subjectLearning management of the teachers in the schools under the office of Sukhothai Primary Educational Service Area 1.en
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.subject.classificationEducationen
dc.titleA Study of the Needs on Development for Learning Management of the Teachers in the Schools under the Office of Sukhothai Primary Educational Service Area 1.en
dc.titleการศึกษาความต้องการจำเป็นในการพัฒนาการจัดการเรียนรู้ของครูโรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุโขทัย เขต 1th
dc.typeIndependent Studyen
dc.typeการค้นคว้าอิสระth
dc.contributor.coadvisorChalong Chatruprachewinen
dc.contributor.coadvisorฉลอง ชาตรูประชีวินth
dc.contributor.emailadvisorchalongc@nu.ac.then_US
dc.contributor.emailcoadvisorchalongc@nu.ac.then_US
dc.description.degreenameMaster of Education (M.Ed.)en
dc.description.degreenameการศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.)th
dc.description.degreelevelMaster's Degreeen
dc.description.degreelevelปริญญาโทth
dc.description.degreedisciplineDepartment of Educational Administration and Developmenten
dc.description.degreedisciplineภาควิชาบริหารและพัฒนาการศึกษาth
Appears in Collections:คณะศึกษาศาสตร์

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
63071250.pdf3.4 MBAdobe PDFView/Open


Items in NU Digital Repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.