Please use this identifier to cite or link to this item: http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/6399
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorKANYAPHAT DAMCHOMen
dc.contributorกัญญาภัทร ดำชมth
dc.contributor.advisorJitima Wannasrien
dc.contributor.advisorจิติมา วรรณศรีth
dc.contributor.otherNaresuan Universityen
dc.date.accessioned2024-11-20T04:50:23Z-
dc.date.available2024-11-20T04:50:23Z-
dc.date.created2022en_US
dc.date.issued2/6/2022en_US
dc.identifier.urihttp://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/6399-
dc.description.abstractThe purposes of this study were : 1) to investigate teacher’s instructional Leadership, 2) to examine the quality of teacher’s learning management and 3) to examine the relationship of teacher’s instructional Leadership and the quality of teacher’s learning management. This study was a survey research. A sample was selected from 260 teachers of 136 schools under Uttaradit Primary Educational Service Area Office 1 for academic year 2021. A sample was drawn from stratified sampling. The research tool was a questionnaire with Likert rating five scales. The collected data were analyzed using frequency, percentage, average, standard deviation and Pearson's product moment correlation coefficient.         The results of the study were as follows : 1) teacher’s instructional leadership was as a much level. Considering each aspect ordered from the highest to the least: the greatest level of satisfaction was the creative thinking. The secondly were human relations. Lastly was the profession development. 2) The quality of teacher’s learning management was as a much level. Considering each aspect ordered from the highest to the least: the greatest level of satisfaction was the quality of students. Lastly was the administrative process and management. 3) The relationship of teacher’s instructional Leadership and the quality of teacher’s learning management was at high level. Considering each aspect found that teacher’s instructional leadership related with the quality of teacher’s learning management with statistical significance level of 0.1. Sort in descending order, there were morality, profession development, Academic ability, human relations and creative thinking.en
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อศึกษาภาวะผู้นำทางวิชาการของครู (2) เพื่อศึกษาคุณภาพการจัดการเรียนการสอนของครู และ (3) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำทางวิชาการของครูกับคุณภาพการจัดการเรียนการสอนของครู เป็นวิจัยเชิงสำรวจ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาเป็นครูผู้สอนในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอุตรดิตถ์ เขต 1 ปีการศึกษา 2564 จำนวน 260 คน จาก 136 โรงเรียน โดยการสุ่มแบบแบ่งชั้น เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถามแบบมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยหา ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน            ผลการวิจัยพบว่า (1) ภาวะผู้นำทางวิชาการของครู โดยภาพรวม อยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด ได้แก่ ด้านความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ รองลงมา ได้แก่ ด้านมนุษย์สัมพันธ์ และด้านที่มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด ได้แก่ ด้านการพัฒนาความก้าวหน้าในวิชาชีพ (2) คุณภาพการจัดการเรียนการสอนของครู โดยภาพรวม อยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า เมื่อพิจารณาในรายด้าน พบว่า ด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงที่สุด ได้แก่ ด้านคุณภาพผู้เรียน และด้านที่มีค่าเฉลี่ยต่ำที่สุด ได้แก่ ด้านกระบวนการบริหารและการจัดการ  (3) ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำทางวิชาการกับคุณภาพการจัดการเรียนการสอนของครู โดยภาพรวมมีความสัมพันธ์กันทางบวกอยู่ในระดับสูง เมื่อพิจารณา เป็นรายด้าน พบว่าภาวะผู้นำทางวิชาการของครูมีความสัมพันธ์ทางบวกกับคุณภาพการจัดการเรียนการสอนของครู อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ ระดับ .01th
dc.language.isothen_US
dc.publisherNaresuan Universityen_US
dc.rightsNaresuan Universityen_US
dc.subjectภาวะผู้นำทางวิชาการ,ครู,คุณภาพการจัดการเรียนการสอนth
dc.subjectInstructional Leadership Teacher Quality of learning managemenen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.subject.classificationEducationen
dc.titleThe Relationship between Academic Leadership of Teachers and The Quality of Teacher’s Learning Management under The Office  of Uttaradit Primary Educational Service Area Office 1en
dc.titleความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำทางวิชาการของครูกับคุณภาพการจัดการเรียนการสอนของครูในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอุตรดิตถ์เขต 1th
dc.typeIndependent Studyen
dc.typeการค้นคว้าอิสระth
dc.contributor.coadvisorJitima Wannasrien
dc.contributor.coadvisorจิติมา วรรณศรีth
dc.contributor.emailadvisorjitimaw@nu.ac.then_US
dc.contributor.emailcoadvisorjitimaw@nu.ac.then_US
dc.description.degreenameMaster of Education (M.Ed.)en
dc.description.degreenameการศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.)th
dc.description.degreelevelMaster's Degreeen
dc.description.degreelevelปริญญาโทth
dc.description.degreedisciplineDepartment of Educational Administration and Developmenten
dc.description.degreedisciplineภาควิชาบริหารและพัฒนาการศึกษาth
Appears in Collections:คณะศึกษาศาสตร์

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
63071243.pdf3.73 MBAdobe PDFView/Open


Items in NU Digital Repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.