Please use this identifier to cite or link to this item: http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/6398
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorPARICHAT TOMEEen
dc.contributorปาริฉัตร โตมีth
dc.contributor.advisorAnucha Kornpuangen
dc.contributor.advisorอนุชา กอนพ่วงth
dc.contributor.otherNaresuan Universityen
dc.date.accessioned2024-11-20T04:50:23Z-
dc.date.available2024-11-20T04:50:23Z-
dc.date.created2022en_US
dc.date.issued3/6/2022en_US
dc.identifier.urihttp://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/6398-
dc.description.abstractThe purposes of this research were  1) to study the level of school administrator’s skills in 21st century 2)to study the level of academic administration in school 3) to study the relationship between school administrator’s skills in 21st century and academic administration in school and 4) to create predive equations school administrator’s skills in 21st century affecting academic administration in school under Phitsanulok Primary Educational Service Area Office 3. The samples were 206 school administrators and heads of academic teachers form 103 schools selected by using the table of Krejcie & Morgan and simple random sampling method. The research instrument were 5-rating scale questionnaire. The quality of all 6 variables in terms of content validity according to the IOC index was between 0.67-1.00 and reliability according to Cronbrach's method was 0.99. The statistics used for data analysis were percentage, mean (), standard deviation (S.D.), Pearson’s product correlation coefficient and multiple regression analysis stepwise method. The results of the study were 1) The level of school administrator’s skills in 21st century was at a highest level 2) The level of academic administration in school was at a highest level 3) The relationship between school administrator’s skills in 21st century and academic administration in school were positive correlation at a high level with statistical significance at .01 4) school administrator’s skills in 21st century in terms of information technology for communication skill (X5), critical thinking and creativity skill (X4) and communication skill (X1) were predicted and explained the academic administrations at 78.20%. The predictive equation could be written in the form of raw scores and standard scores as following: Y^  = .425 + .442(X5) + .338(X4) + .128(X1) Z'Y = .462(Zx5) + .353(Zx4) + .136(Zx1)en
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาระดับทักษะของผู้บริหารสถานศึกษาในศตวรรษที่ 21 2) ศึกษาระดับการบริหารงานวิชาการของโรงเรียน 3) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างทักษะของผู้บริหารสถานศึกษาในศตวรรษที่ 21 กับการบริหารงานวิชาการโรงเรียน และ 4) สร้างสมการพยากรณ์ทักษะของผู้บริหารสถานศึกษาในศตวรรษที่ 21 ที่ส่งผลต่อการบริหารงานวิชาการของโรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพิษณุโลก เขต 3 กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ สถานศึกษาจำนวน 103 โรงเรียน ผู้ให้ข้อมูล ประกอบด้วย ผู้บริหารสถานศึกษาและหัวหน้าฝ่ายวิชาการ รวม 206 คน ซึ่งกำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างโดยการเทียบตารางเครจซี่และมอร์แกน และเลือกกลุ่มตัวอย่างด้วยการสุ่มอย่างง่าย เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือ แบบสอบถามชนิดมาตรประมาณค่า 5 ระดับ โดยมีคุณภาพของตัวแปรทั้ง 6 ตัว ด้านความตรงเชิงเนื้อหา (Content validity) ตามดัชนี IOC อยู่ระหว่าง 0.67-1.00 และมีความเชื่อมั่น (Reliability) ตามวิธีการของครอนบราค เท่ากับ 0.99 สิถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าสัมประสิทธ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน และการวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณแบบขั้นตอน ผลการวิจัยพบว่า 1) ระดับทักษะของผู้บริหารสถานศึกษาในศตวรรษที่ 21 ในภาพรวมอยู่ระดับมากที่สุด 2) ระดับการบริหารงานวิชาการของโรงเรียน ในภาพรวมอยู่ระดับมากที่สุด 3) ความสัมพันธ์ระหว่างทักษะของผู้บริหารสถานศึกษาในศตวรรษที่ 21 กับการบริหารงานวิชาการของโรงเรียน มีความสัมพันธ์ทางบวกอยู่ในระดับสูง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 4) ทักษะของผู้บริหารสถานศึกษาในศตวรรษที่ 21 ด้านทักษะการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสาร (X5) ทักษะการคิดวิเคราะห์และความคิดสร้างสรรค์ (X4) และทักษะการสื่อสาร (X1) สามารถทำนาย อธิบายการบริหารงานวิชาการของโรงเรียน ได้ร้อยละ 78.20 สามารถเขียนสมการพยากรณ์ในรูปของคะแนนดิบและคะแนนมาตรฐานได้ดังนี้ตามลำดับ Y^  = .425 + .442(X5) + .338(X4) + .128(X1) Z'Y = .462(Zx5) + .353(Zx4) + .136(Zx1)th
dc.language.isothen_US
dc.publisherNaresuan Universityen_US
dc.rightsNaresuan Universityen_US
dc.subjectทักษะของผู้บริหารสถานศึกษาในศตวรรษที่ 21th
dc.subjectการบริหารงานวิชาการth
dc.subjectผู้บริหารสถานศึกษาth
dc.subjectทักษะของผู้บริหารth
dc.subjectSchool Administrator’s 21st Century Skillen
dc.subjectAcademic Administrationen
dc.subjectSchool Administratoren
dc.subjectAdministrator's Skillen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.subject.classificationEducationen
dc.subject.classificationEducation scienceen
dc.titleTHE SCHOOL ADMINISTRATOR’S SKILL IN 21st CENTURY AFFECTING ACADEMIC ADMINISTRATION IN SCHOOLS UNDER PHITSANULOK PRIMARY EDUCATIONAL SEVICE AREA OFFICE 3en
dc.titleทักษะของผู้บริหารสถานศึกษาในศตวรรษที่ 21 ที่ส่งผลต่อการบริหารงานวิชาการของโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพิษณุโลก เขต 3th
dc.typeIndependent Studyen
dc.typeการค้นคว้าอิสระth
dc.contributor.coadvisorAnucha Kornpuangen
dc.contributor.coadvisorอนุชา กอนพ่วงth
dc.contributor.emailadvisoranuchako@nu.ac.then_US
dc.contributor.emailcoadvisoranuchako@nu.ac.then_US
dc.description.degreenameMaster of Education (M.Ed.)en
dc.description.degreenameการศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.)th
dc.description.degreelevelMaster's Degreeen
dc.description.degreelevelปริญญาโทth
dc.description.degreedisciplineDepartment of Educational Administration and Developmenten
dc.description.degreedisciplineภาควิชาบริหารและพัฒนาการศึกษาth
Appears in Collections:คณะศึกษาศาสตร์

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
63071229.pdf4.73 MBAdobe PDFView/Open


Items in NU Digital Repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.