Please use this identifier to cite or link to this item:
http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/6397
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor | SUPHANSA HUNTHONG | en |
dc.contributor | สุพรรษา หุ่นทอง | th |
dc.contributor.advisor | Tussana Siputta | en |
dc.contributor.advisor | ทัศนะ ศรีปัตตา | th |
dc.contributor.other | Naresuan University | en |
dc.date.accessioned | 2024-11-20T04:50:22Z | - |
dc.date.available | 2024-11-20T04:50:22Z | - |
dc.date.created | 2022 | en_US |
dc.date.issued | 2/6/2022 | en_US |
dc.identifier.uri | http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/6397 | - |
dc.description.abstract | The purpose of this research was to study the state and guidelines for early childhood education management follow the standards of the National Early Childhood Development Center of childhood development center under the local government organization in Phitsanulok Province. The researcher has divided the research process into 2 steps: Step 1: Study the state for early childhood education management follow the standards of the National Early Childhood Development Center of childhood development center under the local government organization in Phitsanulok Province. The sample group consisted of administrators or education administrators of local administrative organizations. and head of the Child Development Center from local administrative organizations in Phitsanulok Province, Academic Year 2021, total 136 people. The samples were determined using Krejcie & Morgan tables and randomly sampled using a simple sampling method. A tool for collecting data is a questionnaire. 5 level estimation scale. The statistics used to analyze the data are mean and standard deviation. Step 2 Educational administration of early childhood education of the standards of the National Early Childhood Development Center of childhood development center under the local government organization in Phitsanulok Province by interviewing 4 qualified persons. Data were analyzed by content analysis. The results of the research found that 1. A study of the state of early childhood education management of the standards of the National Early Childhood Development Center of childhood development center under the local government organization in Phitsanulok Province Overall, it's at a high level. when considering each aspect. It was found that the aspect with the highest mean was the aspect of promoting family and community participation, followed by the aspect of health promotion and learning management. and the aspect with the lowest average was the systematic management aspect. 2. A study of the guidelines for early childhood education management of the standards of the National Early Childhood Development Center of childhood development center under the local administrative organizations in Phitsanulok province, it was found that there were 14 approaches. Comprising to systematic management 2 approaches. Personnel management 3 approaches. Management of safety environments 3 approaches. Management for health promotion and learning 4 approaches. And promoting family and community participation 2 approaches. | en |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสภาพและแนวทางการบริหารจัดการการศึกษาปฐมวัย ตามมาตรฐานสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยแห่งชาติของศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก สังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ในจังหวัดพิษณุโลก โดยผู้วิจัยได้แบ่งขั้นตอนการวิจัยเป็น 2 ขั้นตอน คือ ขั้นตอนที่ 1 การศึกษาสภาพการบริหารจัดการการศึกษาปฐมวัย ตามมาตรฐานสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยแห่งชาติของศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก สังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ในจังหวัดพิษณุโลกกลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ผู้บริหารหรือผู้ดูแลด้านการศึกษาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และหัวหน้าศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก จากองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดพิษณุโลก ปีการศึกษา 2564 จำนวน 136 คน ได้มาจากกำหนดกลุ่มตัวอย่างด้วยตารางเคจซี่และมอร์แกน (Krejcie & Morgan) และสุ่มกลุ่มตัวอย่างด้วยวิธีการสุ่มตัวอย่างอย่างง่าย เครื่องมือที่ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถาม มาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ยและค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ขั้นตอนที่ 2 การศึกษาแนวทางการบริหารจัดการการศึกษาปฐมวัย ตามมาตรฐานสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยแห่งชาติของศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก สังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ในจังหวัดพิษณุโลก โดยการสัมภาษณ์ผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 4 คน วิเคราะห์ข้อมูลโดยการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัย พบว่า 1. การศึกษาสภาพการบริหารจัดการการศึกษาปฐมวัย ตามมาตรฐานสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยแห่งชาติของศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก สังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ในจังหวัดพิษณุโลกในภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด ได้แก่ ด้านการส่งเสริมการมีส่วนร่วมของครอบครัวและชุมชน รองลงมา ได้แก่ ด้านการจัดการเพื่อส่งเสริมสุขภาพและการเรียนรู้ และด้านที่มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด คือ ด้านการบริหารจัดการอย่างเป็นระบบ 2. การศึกษาแนวทางการบริหารจัดการการศึกษาปฐมวัย ตามมาตรฐานสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยแห่งชาติของศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก สังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ในจังหวัดพิษณุโลก พบว่า มีทั้งหมด 14 แนวทาง ประกอบด้วย ด้านการบริหารจัดการอย่างเป็นระบบ 2 แนวทาง ด้านการบริหารจัดการบุคลากร 3 แนวทาง ด้านการบริหารจัดการสภาพแวดล้อมเพื่อความปลอดภัย 3 แนวทาง ด้านการจัดการเพื่อส่งเสริมสุขภาพและการเรียนรู้ 4 แนวทาง และด้านการส่งเสริมการมีส่วนร่วมของครอบครัวและชุมชน 2 แนวทาง | th |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | Naresuan University | en_US |
dc.rights | Naresuan University | en_US |
dc.subject | มาตรฐานสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยแห่งชาติ | th |
dc.subject | การบริหารจัดการการศึกษา | th |
dc.subject | ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก | th |
dc.subject | National Child Development Center’s Standards | en |
dc.subject | Education Management | en |
dc.subject | Administration of Child Development Centers | en |
dc.subject.classification | Social Sciences | en |
dc.subject.classification | Education | en |
dc.subject.classification | Education science | en |
dc.title | STATE AND GUIDELINES FOR EARLY CHILDHOOD EDUCATION MANAGEMENT FOLLOW THE STANDARDS OF THE DEVELOPMENT SITE NATIONAL EARLY CHILDHOOD DEVELOPMENT CENTER UNDER THE LOCAL GOVERNMENT ORGANIZATION IN PHITSANULOK PROVINCE. | en |
dc.title | สภาพและแนวทางการบริหารจัดการการศึกษาปฐมวัย ตามมาตรฐานสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยแห่งชาติของศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก สังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดพิษณุโลก | th |
dc.type | Independent Study | en |
dc.type | การค้นคว้าอิสระ | th |
dc.contributor.coadvisor | Tussana Siputta | en |
dc.contributor.coadvisor | ทัศนะ ศรีปัตตา | th |
dc.contributor.emailadvisor | tatsanas@nu.ac.th | en_US |
dc.contributor.emailcoadvisor | tatsanas@nu.ac.th | en_US |
dc.description.degreename | Master of Education (M.Ed.) | en |
dc.description.degreename | การศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.) | th |
dc.description.degreelevel | Master's Degree | en |
dc.description.degreelevel | ปริญญาโท | th |
dc.description.degreediscipline | Department of Educational Administration and Development | en |
dc.description.degreediscipline | ภาควิชาบริหารและพัฒนาการศึกษา | th |
Appears in Collections: | คณะศึกษาศาสตร์ |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
63071212.pdf | 2.57 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in NU Digital Repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.