Please use this identifier to cite or link to this item:
http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/6396
Title: | A Study of Community Participation in Management of School Operation under The Second Educational Service Area Office Phichit การศึกษาการมีส่วนร่วมของคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ในการบริหารสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาพิจิตร |
Authors: | NAWARAT SEANGPO นวรัตน์ แสงโพธิ์ Tussana Siputta ทัศนะ ศรีปัตตา Naresuan University Tussana Siputta ทัศนะ ศรีปัตตา tatsanas@nu.ac.th tatsanas@nu.ac.th |
Keywords: | การมีส่วนร่วมของคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน, การบริหารสถานถานศึกษา Participation of the Basic Educational Committee School Administration |
Issue Date: | 2 |
Publisher: | Naresuan University |
Abstract: | The purposes of this survey research were to 1) study the participation of the Basic Educational Committee in Administration of Schools under the Secondary Educational Service Area Office Phichit, 2) compare the participation of the Basic Educational Committee in Administration of Schools under the Secondary Educational Service Area Office Phichit based on the respective schools’ size. Questionnaire of the participation of the Basic Educational Committee in Administration of Schools under the Secondary Educational Service Area Office Phichit was employed to collect information. To determine the sample size for the study, the Krejcie and Morgan Table was used. One-hundred and eighty-six (186) of the Basic Educational Committee in Administration of Schools under the Secondary Educational Service Area Office Phichit were participated in this study and recruited by using Stratified sampling method based on the respective schools’ size. The analytic statistics used for analyzing data included Mean, Standard Deviation, and One-Way Analysis of Variance (ANOVA).
Results revealed that:
1. In overall, the participation of the Basic Educational Committee in Administration of Schools under the Secondary Educational Service Area Office Phichit was high level. By considering on each aspect, academic administration and general administration had highest mean, followed by budget administration, wherease personnel administration had lowest mean were found.
2. By comparing the participation of the Basic Educational Committee in Administration of Schools under the Secondary Educational Service Area Office Phichit based on the respective schools’ size, it showed that the schools of different sizes rendered the participation of the Basic Educational Committee in Administration of Schools under the Secondary Educational Service Area Office Phichit had no difference. การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยแบบสำรวจมีวัตถุประสงค์ คือ 1) เพื่อศึกษาการมีส่วนร่วมของคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานในการบริหารสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาพิจิตร 2) เพื่อเปรียบเทียบการมีส่วนร่วมของคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานในการบริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาพิจิตร จำแนกตามขนาดของสถานศึกษา เครื่องมือการวิจัย คือ แบบสอบถาม กลุ่มตัวอย่างประกอบด้วย คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานของโรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาพิจิตร จำนวน 186 คน ซึ่งกำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างโดยการเทียบตารางเครจซี่มอร์แกน และเลือกกลุ่มตัวอย่างด้วยการสุ่มแบบแบ่งชั้น ตามขนาดของโรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาพิจิตรเครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ แบบสอบถามการมีส่วนร่วมของคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานในการบริหารสถานศึกษาสังกัดเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาพิจิตร วิเคราะห์ข้อมูลด้วยการหาค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว ผลการวิจัย พบว่า 1. การมีส่วนร่วมของคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานในการบริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาพิจิตร พบว่า คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานมีความคิดเห็นว่าการมีส่วนร่วมในการบริหารสถานศึกษา ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาในรายด้าน พบว่า ด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด ได้แก่ ด้านการบริหารวิชาการและด้านการบริหารทั่วไป รองลงมา คือ ด้านการบริหารงบประมาณ ส่วนด้านที่มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด คือ ด้านการบริหารงานบุคคล 2. การเปรียบเทียบการมีส่วนร่วมของคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานในการบริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาพิจิตร จำแนกตามขนาดของสถานศึกษา ในภาพรวมและรายด้าน พบว่า โรงเรียนที่มีขนาดต่างกัน ทำให้การมีส่วนร่วมของคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานในการบริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาพิจิตร ไม่แตกต่างกัน |
URI: | http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/6396 |
Appears in Collections: | คณะศึกษาศาสตร์ |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
63071205.pdf | 1.66 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in NU Digital Repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.