Please use this identifier to cite or link to this item:
http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/6392
Title: | Academic administration of enrichment program of science mathematics of secondary school in Sukhothai การบริหารงานวิชาการห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์คณิตศาสตร์โรงเรียนมัธยมในจังหวัดสุโขทัย |
Authors: | ANURAT KHOMJUN อนุรัตน์ ขำจันทร์ Sathiraporn Chaowachai สถิรพร เชาวน์ชัย Naresuan University Sathiraporn Chaowachai สถิรพร เชาวน์ชัย sathirapornc@nu.ac.th sathirapornc@nu.ac.th |
Keywords: | การบริหารงานวิชาการ,ห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์คณิตศาสตร์ Academic administration enrichment program of science mathematics |
Issue Date: | 2 |
Publisher: | Naresuan University |
Abstract: | This research aimed to study academic administration of enrichment program of science mathematics of secondary school in Sukhothai and Guidelines for developing of academic administration of enrichment program of science mathematics of secondary school in Sukhothai. The conducting research was divided in 2 steps. Step 1, to study academic administration of enrichment program of science mathematics of secondary school in Sukhothai. The sample of this research were 60 administrators and teachers who involved with academic administration of enrichment program of science mathematics and 5 experts that were sampled by purposive sampling. The research instruments were a 5-level estimation scale questionnaire and a semi-structured interview respectively. The data were analyzed by mean , standard deviation , and content analysis. Step 2, to study guidelines for developing of academic administration of enrichment program of science mathematics of secondary school in Sukhothai. The sample of this research were 5 experts obtained by selective selection. The tool used for data collection was an interview form. The data were analyzed by Content Analysis.
The result showed that:
1) The level of academic administration of enrichment program of science mathematics of secondary school in Sukhothai under the secondary educational service area office Sukhothai as overall was high. Considering each aspect found that, the highest mean aspect was a measurement and evaluation of student learning, which was high level. The lowest mean aspect was building a connection of enrichment program administration, which was high level.
2) The guidelines for developing of academic administration of the enrichment program of science mathematics in secondary school in Sukhothai were that school administrators should promote and build knowing and understanding about operational guidelines to respond to policy and bring it to practice. In order to achieve the objectives and goals of developing academic administration of the enrichment program of science mathematics. การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาการบริหารงานวิชาการห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์คณิตศาสตร์ โรงเรียนมัธยมศึกษาในจังหวัดสุโขทัยและเพื่อศึกษาแนวทางการบริหารงานวิชาการห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์คณิตศาสตร์โรงเรียนมัธยมในจังหวัดสุโขทัย มีวิธีดำเนินการวิจัยแบ่งออกเป็น ขั้นตอนที่ 1 เพื่อศึกษาการบริหารงานวิชาการห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์คณิตศาสตร์ โรงเรียนมัธยมศึกษาในจังหวัดสุโขทัย กลุ่มผู้ให้ข้อมูล ได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษาและครู 60 คน ได้มาโดยวิธีการเลือกแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือ แบบสอบถามการบริหารงานวิชาการห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์คณิตศาสตร์ โรงเรียนมัธยมศึกษาในจังหวัดสุโขทัยลักษณะเป็นมาตรประมาณค่า 5 ระดับ วิเคราะห์ข้อมูลด้วยค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ขั้นตอนที่ 2 เพื่อศึกษาแนวทางการบริหารงานวิชาการห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์คณิตศาสตร์โรงเรียนมัธยมในจังหวัดสุโขทัย กลุ่มผู้ให้ข้อมูล ได้แก่ ผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 5 คน ได้มาโดย การเลือกแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือ แบบสัมภาษณ์แนวทาง แนวทางการบริหารงานวิชาการห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์คณิตศาสตร์โรงเรียนมัธยมในจังหวัดสุโขทัย และวิเคราะห์ข้อมูลด้วยการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัยพบว่า 1. ผลการศึกษาการบริหารงานวิชาการห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์คณิตศาสตร์โรงเรียนมัธยมศึกษาในจังหวัดสุโขทัย สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาสุโขทัย ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ของนักเรียน อยู่ใน ระดับมาก และด้านที่มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด คือ การสร้างเครือข่ายความร่วมมือในการบริหารงานห้องเรียนพิเศษอยู่ในระดับมาก 2. ผลการศึกษาแนวทางการการบริหารงานวิชาการห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์คณิตศาสตร์โรงเรียนมัธยมในจังหวัดสุโขทัย พบว่า ผู้บริหารควรส่งเสริมการสร้างความรู้ ความเข้าใจถึงแนวทางการปฏิบัติงานเพื่อตอบสนองต่อนโยบายและนำไปสู่การปฏิบัติ เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์และเป้าหมาย |
URI: | http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/6392 |
Appears in Collections: | คณะศึกษาศาสตร์ |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
63070956.pdf | 2.76 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in NU Digital Repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.