Please use this identifier to cite or link to this item: http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/6389
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorSINGHAWAT SARNTOYen
dc.contributorสิงหวัฒน์ สารถ้อยth
dc.contributor.advisorSathiraporn Chaowachaien
dc.contributor.advisorสถิรพร เชาวน์ชัยth
dc.contributor.otherNaresuan Universityen
dc.date.accessioned2024-11-20T04:50:21Z-
dc.date.available2024-11-20T04:50:21Z-
dc.date.created2022en_US
dc.date.issued2/6/2022en_US
dc.identifier.urihttp://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/6389-
dc.description.abstractThe purposes of this research were to study of quality culture in secondary school in the secondary educational service area office Nan. And the guidelines to promote quality culture in secondary school in the secondary educational service area office Nan. 2. The research followed to 2 - stepped procedure: 1) Study of quality culture in secondary school in the secondary educational service area office Nan. The 306 samples consisted of school administrators and teachers under the Secondary Educational Service Area Office Nan. 30 administrators by purposive sampling and 276 teachers by stratified sampling. The research instrument was a questionnaire. The statistics used for data analysis were mean and standard deviation 2) Study of the guidelines to promote quality culture in secondary school in the secondary educational service area office Nan. The informants were 5 experts, selected by purposive sampling. The in-depth interview was used for collecting information. The data were statistically analyzed using content analysis.     The result of the research revealed that: 1. The overall state of quality culture in secondary school in the secondary educational service area office Nan was at a high level. When considering each aspect, the highest mean was the personnel morale, the lowest was the development of skill personnel.  2. The guidelines which promote the quality culture in secondary school in the secondary educational service area office Nan were creating work manual by administrators should set visions and organization values in order that the teachers and staff will see the same path and goal. Moreover, administrators should have unambiguous and fair promotion for teachers and staffs in order to encourage them to improve themselves and to have better performance which rely on teamwork, trust in teacher and staff quality and let them perform freely, fully and effectively.en
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาวัฒนธรรมคุณภาพของโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาน่าน  และเพื่อศึกษาแนวทางการสร้างวัฒนธรรมคุณภาพของโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาน่าน  ดำเนินการวิจัยโดยแบ่งเป็น 2 ขั้นตอน ได้แก่ ขั้นตอนที่ 1 การศึกษาวัฒนธรรมคุณภาพของโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาน่าน จำนวน 306 คน แบ่งเป็น ผู้บริหารสถานศึกษา 30 คน ได้มาจากการเลือกแบบเจาะจง และครู 276 คน ได้มาจากวิธีการสุ่มแบบแบ่งชั้น เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลด้วยค่าเฉลี่ย และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ด้วยโปรแกรมสำเร็จ ขั้นตอนที่ 2 การศึกษาแนวทางการสร้างวัฒนธรรมคุณภาพของโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาน่าน กลุ่มผู้ให้ข้อมูล ได้แก่ ผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 5 คน โดยการลือกแบบเจาะจง การเก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสัมภาษณ์ วิเคราะห์ข้อมูลด้วยการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัยพบว่า 1. ผลการศึกษาวัฒนธรรมคุณภาพของโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาน่าน พบว่า ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณารายด้าน พบว่า ด้านที่มีการปฏิบัติสูงสุดคือ ด้านการให้ขวัญกำลังใจ และด้านที่มีการปฏิบัติต่ำสุด คือ  ด้านการพัฒนาทักษะของบุคลากร  2. ผลการศึกษาแนวทางการสร้างวัฒนธรรมคุณภาพของโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาน่าน พบว่า ผู้บริหารสถานศึกษาควรกำหนดวิสัยทัศน์  และค่านิยมในการปฏิบัติงานของโรงเรียนที่มุ่งเน้นถึงวัฒนธรรมคุณภาพร่วมกัน เพื่อให้ครูและบุคลากรได้มองเห็นภาพหรือทิศทางในการดำเนินงานที่ชัดเจนเป็นไปในทิศทางเดียวกัน ทั้งนี้ควรกำหนดแนวทางปฏิบัติในการสร้างขวัญและกำลัง ให้ผลตอบแทนที่ชัดเจนโปร่งใส ยุติธรรม อีกทั้งส่งเสริมสนับสนุนให้ครูได้มีการพัฒนาองค์ความรู้ ทักษะในการปฏิบัติงานของตนเองอย่างสม่ำเสมอ โดยให้ความสำคัญในการทำงานเป็นทีม และการมีส่วนร่วมในการปฏิบัติงาน มีความไว้วางใจ เชื่อมั่นในศักยภาพของครูและบุคลากร ให้ได้แสดงออกถึงความรู้ ความสามารถของตนเองอย่างเต็มที่th
dc.language.isothen_US
dc.publisherNaresuan Universityen_US
dc.rightsNaresuan Universityen_US
dc.subjectวัฒนธรรมคุณภาพth
dc.subjectแนวทางการสร้างวัฒนธรรมคุณภาพth
dc.subjectโรงเรียนมัธยมศึกษาth
dc.subjectQuality Cultureen
dc.subjectGuidelines to Promote Quality Cultureen
dc.subjectSecondary Schoolen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.subject.classificationEducationen
dc.subject.classificationEducation scienceen
dc.titleA STUDY OF QUALITY CULTURE IN SECONDARY SCHOOLS IN THE SECONDARY EDUCATIONAL SERVICE AREA OFFICE NANen
dc.titleการศึกษาวัฒนธรรมคุณภาพของโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาน่านth
dc.typeIndependent Studyen
dc.typeการค้นคว้าอิสระth
dc.contributor.coadvisorSathiraporn Chaowachaien
dc.contributor.coadvisorสถิรพร เชาวน์ชัยth
dc.contributor.emailadvisorsathirapornc@nu.ac.then_US
dc.contributor.emailcoadvisorsathirapornc@nu.ac.then_US
dc.description.degreenameMaster of Education (M.Ed.)en
dc.description.degreenameการศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.)th
dc.description.degreelevelMaster's Degreeen
dc.description.degreelevelปริญญาโทth
dc.description.degreedisciplineDepartment of Educational Administration and Developmenten
dc.description.degreedisciplineภาควิชาบริหารและพัฒนาการศึกษาth
Appears in Collections:คณะศึกษาศาสตร์

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
63070826.pdf2.98 MBAdobe PDFView/Open


Items in NU Digital Repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.