Please use this identifier to cite or link to this item: http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/6387
Title: INSTRUCTIONAL LEADERSHIP IN DIGITAL AGE OF SCHOOL UNDER PHRAE PRIMARY EDUCATIONAL SERVICE AREA  OFFICE 2
การวิเคราะห์องค์ประกอบภาวะผู้นำทางวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษาในยุคดิจิทัล สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาแพร่ เขต 2
Authors: SUNTI SANPEK
สันติ แสนเป็ก
Sathiraporn Chaowachai
สถิรพร เชาวน์ชัย
Naresuan University
Sathiraporn Chaowachai
สถิรพร เชาวน์ชัย
sathirapornc@nu.ac.th
sathirapornc@nu.ac.th
Keywords: ภาวะผู้นำทางวิชาการ
ยุคดิจิทัล
การบริหารสถานศึกษา
ผู้บริหารสถานศึกษา
instructional leadership
digital age
school administration
school principal
Issue Date:  3
Publisher: Naresuan University
Abstract: The purpose of this research was to analyze the components of instructional leadership of school administrators in the digital age under the Phrae Primary Educational Service Area Office 2. The sample groups were school administrators and teachers under the Phrae Primary Educational Service Area Office 2 using the sample size determination of Comp - AL., & Lee determined that the sample of 300 people and increased the sample by approximately 15 percent, which is 45 people, totaling 345 people. The tool used to collect data was a questionnaire. The statistics used in the data analysis were Exploratory Factor Analysis (EFA) by using the Principal Component Analysis (PCA) and Orthogonal Rotation by Varimax Rotation. The research results found that The finding of this research revealed that instructional leadership of school administrators in the digital age under Phrae Primary Educational Service Area Office 2 had 6 components including promoting the use of technology for instruction, encouraging personnel to have skills to use technology, organizing the curriculum that encourages learner quality, enhancing the academic atmosphere at school, being friendly in the follow-up supervision and setting a vision that emphasizes academic excellence.
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์องค์ประกอบภาวะผู้นำทางวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษาในยุคดิจิทัล สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาแพร่ เขต 2  กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยในครั้งนี้ คือ ผู้บริหารและครู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาแพร่ เขต 2 โดยใช้การกำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างของคอมลีย์ กำหนดว่ากลุ่มตัวอย่างจำนวน 300 คน และได้ทำการเพิ่มจำนวนกลุ่มตัวอย่างประมาณร้อยละ 15 คือ 45 คน รวม 345 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลด้วยการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงสำรวจ โดยใช้การวิเคราะห์ด้วยวิธีสกัดองค์ประกอบหลัก หลังหมุนแกนแบบมุมฉาก ด้วยวิธีแวริแมกซ์ ผลการศึกษาพบว่า ภาวะผู้นำทางวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษา ในยุคดิจิทัล สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาแพร่ เขต 2 มี 6 องค์ประกอบ ได้แก่ การส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีเพื่อจัดการเรียนรู้ การส่งเสริมบุคลากรให้มีทักษะในการใช้เทคโนโลยี การจัดหลักสูตรที่ส่งเสริมคุณภาพผู้เรียน การเสริมสร้างบรรยากาศทางวิชาการในสถานศึกษา การมีกัลยาณมิตรในการนิเทศติดตาม และกำหนดวิสัยทัศน์ที่เน้นความเป็นเลิศทางวิชาการ
URI: http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/6387
Appears in Collections:คณะศึกษาศาสตร์

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
63070802.pdf3.82 MBAdobe PDFView/Open


Items in NU Digital Repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.