Please use this identifier to cite or link to this item:
http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/6385
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor | SORNRUK PALAMETHAKUL | en |
dc.contributor | ศรรัก ผลาเมธากูล | th |
dc.contributor.advisor | Chalong Chatruprachewin | en |
dc.contributor.advisor | ฉลอง ชาตรูประชีวิน | th |
dc.contributor.other | Naresuan University | en |
dc.date.accessioned | 2024-11-20T04:50:19Z | - |
dc.date.available | 2024-11-20T04:50:19Z | - |
dc.date.created | 2022 | en_US |
dc.date.issued | 3/6/2022 | en_US |
dc.identifier.uri | http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/6385 | - |
dc.description.abstract | The purposes of this research were 1) To study the level of factors affecting administration for excellence in secondary schools under the secondary educational service area office Phrae, 2) To study the level of administration for excellent in secondary schools under the secondary educational service area office Phrae, 3) To study the relationship between the factors affecting administration for excellent and administration for excellence in secondary schools under the secondary educational service area office Phrae, and 4) To determine forecasting variables and develop multiple linear regression that affects administration for excellent in secondary schools under the secondary educational service area office Phrae. The participants were 32 school administrators by purposive selection and 222 government teachers under secondary educational service area office Phrae. The sample was indicated using Krejcie & Morgan table and randomly selected by stratified sampling method. Data were collected by the questionnaire, the analyzed by Pearson’s Correlation Coefficient and analyzed a multiple linear regression analysis. The research found that: 1) The level of factors affecting administration for excellence in secondary schools under the secondary educational service area office Phrae is high, 2) The level of administration for excellent in secondary schools under the secondary educational service area office Phrae is high, 3) The factors affecting administration for excellence and administration for excellence in secondary schools under the secondary educational service area office Phrae coefficient are between 0.673 – 0.813. The most affecting factor is the teacher and personnel the least affecting factor is the school administrator, and 4) The multiple regression with the significance level of 0.05 are consisted of 3 factors: school administrator factor (X1), teacher and personnel factor (X2) and external environment factor (X4) that affect administration for excellence in secondary schools under the secondary educational service area office Phrae. The model correlation (R) is 0.866, the coefficient of multiple determination (R2) is 75.00 %, and the standard error is 0.334. The regression equations are; Y = -0.807 + 0.248X1 + 0.481X2 + 0.365X4 Zy = 0.202X1 + 0.363X2 + 0.343X4 | en |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาระดับปัจจัยที่ส่งผลต่อการบริหารสู่ความเป็นเลิศของโรงเรียนมัธยมศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาแพร่ 2) เพื่อศึกษาระดับการบริหารสู่ความเป็นเลิศของโรงเรียนมัธยมศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาแพร่ 3) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยที่ส่งผลต่อการบริหารสู่ความเป็นเลิศกับการบริหารสู่ความเป็นเลิศของโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาแพร่ 4) เพื่อค้นหาตัวแปรพยากรณ์และสร้างสมการพยากรณ์การบริหารสู่ความเป็นเลิศของโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาแพร่ กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ผู้บริหาร จำนวน 32 คน โดยการเลือกแบบเจาะจง และข้าราชการครู จำนวน 222 คน กำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างด้วยตารางสำเร็จรูปของเครจซี่และมอร์แกน โดยการสุ่มแบบแบ่งชั้น เก็บรวบรวมข้อมูลด้วยแบบสอบถามปัจจัยที่ส่งผลต่อการบริหารสู่ความเป็นเลิศของโรงเรียนมัธยมศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาแพร่ วิเคราะห์ข้อมูลด้วยการวิเคราะห์ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียรสัน (Pearson’s Correlation Coefficient) และการวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณแบบปกติ (Multiple Linear Regression Analysis) ผลการวิจัยพบว่า 1) ระดับปัจจัยที่ส่งผลต่อการบริหารสู่ความเป็นเลิศของโรงเรียนมัธยมศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาแพร่ ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก 2) ระดับการบริหารสู่ความเป็นเลิศของโรงเรียนมัธยมศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาแพร่ ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก 3) ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรที่ส่งผลต่อการบริหารสู่ความเป็นเลิศของโรงเรียนมัธยมศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาแพร่ พบว่า มีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์อยู่ระหว่าง 0.673 - 0.813 และปัจจัยที่ส่งผลต่อการบริหารสู่ความเป็นเลิศของโรงเรียนมัธยมศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาแพร่ ที่มีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์สูงสุด คือ ปัจจัยด้านครูและบุคลากร และปัจจัยที่มีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ต่ำที่สุด คือ ปัจจัยด้านผู้บริหาร และ 4) ผลการวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณแบบปกติของปัจจัยที่ส่งผลต่อการบริหารสู่ความเป็นเลิศของโรงเรียนมัธยมศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาแพร่ จำนวน 3 ตัวแปร ได้แก่ ปัจจัยด้านผู้บริหาร (X1) ปัจจัยด้านครูและบุคลากร (X2) และปัจจัยด้านสิ่งแวดล้อมภายนอก (X4) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 โดยมีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์พหุคูณ (R) เท่ากับ 0.866 มีอำนาจพยากรณ์ (R2) ได้ร้อยละ 75.00 มีค่าความคลาดเคลื่อนมาตรฐานเท่ากับ 0.334 ซึ่งสามารถเขียนสมการพยากรณ์ในรูปคะแนนดิบและคะแนนมาตรฐานตามลำดับ ดังนี้ Y = -0.807 + 0.248X1 + 0.481X2 + 0.365X4 Zy = 0.202X1 + 0.363X2 + 0.343X4 | th |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | Naresuan University | en_US |
dc.rights | Naresuan University | en_US |
dc.subject | ปัจจัยที่ส่งผล การบริหารสู่ความเป็นเลิศ โรงเรียนมัธยมศึกษา | th |
dc.subject | Factors affecting Administration for excellence Secondary school | en |
dc.subject.classification | Social Sciences | en |
dc.subject.classification | Education | en |
dc.subject.classification | Education science | en |
dc.title | Factors Affecting Administration for Excellence in Secondary Schools under the Secondary Educational Service Area Office Phrae | en |
dc.title | ปัจจัยที่ส่งผลต่อการบริหารสู่ความเป็นเลิศของโรงเรียนมัธยมศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาแพร่ | th |
dc.type | Independent Study | en |
dc.type | การค้นคว้าอิสระ | th |
dc.contributor.coadvisor | Chalong Chatruprachewin | en |
dc.contributor.coadvisor | ฉลอง ชาตรูประชีวิน | th |
dc.contributor.emailadvisor | chalongc@nu.ac.th | en_US |
dc.contributor.emailcoadvisor | chalongc@nu.ac.th | en_US |
dc.description.degreename | Master of Education (M.Ed.) | en |
dc.description.degreename | การศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.) | th |
dc.description.degreelevel | Master's Degree | en |
dc.description.degreelevel | ปริญญาโท | th |
dc.description.degreediscipline | Department of Educational Administration and Development | en |
dc.description.degreediscipline | ภาควิชาบริหารและพัฒนาการศึกษา | th |
Appears in Collections: | คณะศึกษาศาสตร์ |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
63070758.pdf | 1.66 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in NU Digital Repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.