Please use this identifier to cite or link to this item:
http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/6384
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor | WITTAYA KHEEREEKUNPHAISAN | en |
dc.contributor | วิทยา คีรีกุลไพศาล | th |
dc.contributor.advisor | Thirasak Uppamaiathichai | en |
dc.contributor.advisor | ธีรศักดิ์ อุปไมยอธิชัย | th |
dc.contributor.other | Naresuan University | en |
dc.date.accessioned | 2024-11-20T04:50:19Z | - |
dc.date.available | 2024-11-20T04:50:19Z | - |
dc.date.created | 2022 | en_US |
dc.date.issued | 3/6/2022 | en_US |
dc.identifier.uri | http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/6384 | - |
dc.description.abstract | Abstracts The purposes of this study were : 1) to investigate the needs assessment for the principal’s skills in the Covid predicament of the school under phetchabun primary educational service area office 2, and 2) to arrange the needs assessment for the principal’s skills in the Covid predicament of the school under phetchabun primary educational service area office 2. The sample consisted of 78 school administrators in phetchabun primary educational service area office 2 , selected by using of formula Taro Yamane, with the confidence at 95 % and error at 5% and stratified random sampling. A result of this study was found in the following aspects. 1. The needs assessment for the principal’s skills in the Covid predicament of the school under phetchabun primary educational service area office 2, in overall, desirable circumstance was rated at the highest level while the authentic circumstance was rated at the high level2.The rating of needs assessment for the principal’s skills in the Covid predicament of the school under phetchabun primary educational service area office 2 were: (1) communication skills (2) Critical and creative thinking skills (3) Personal management skills (4) Technological and digital literacy skills (5) Organizational management skills (6) Setting instructional direction skills. | en |
dc.description.abstract | บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ คือ 1) เพื่อศึกษาความต้องการจำเป็นด้านทักษะการบริหารของผู้บริหารสถานศึกษาในสถานการณ์โควิดสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเพชรบูรณ์เขต 2 2) เพื่อจัดลำดับความต้องการจำเป็นด้านทักษะการบริหารของผู้บริหารสถานศึกษาในสถานการณ์โควิดสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเพชรบูรณ์ เขต 2 การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยแบบสำรวจ ใช้เครื่องมือการวิจัย คือ แบบสอบถาม กลุ่มตัวอย่างประกอบด้วย ผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเพชรบูรณ์ เขต 2 จำนวน 78 คน โดยการกำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างคำนวณจากสูตรการคำนวนของทาโร่ยามาเน่ (Taro Yamane,1973) ที่ระดับความเชื่อมั่น 95% โดยใช้ความคาดเคลื่อนในการสุ่ม 5% เมื่อได้กลุ่มตัวอย่างแล้วจะกำหนดกลุ่มตัวอย่างด้วยวิธีแบบแบ่งชั้น ผลการวิจัยพบว่า 1. สภาพที่พึงประสงค์ด้านทักษะการบริหารของผู้บริหารสถานศึกษาในสถานการณ์โควิด สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเพชรบูรณ์ เขต 2 ภาพรวมอยู่ในระดับมากทที่สุด สภาพที่เป็นจริงภาพรวมอยู่ในระดับมาก 2. ความต้องการจำเป็นด้านทักษะการบริหารของผู้บริหารสถานศึกษาในสถานการณ์โควิด สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเพชรบูรณ์ เขต 2 เรียงดัชนีลำดับความสำคัญของความต้องการจำเป็นได้ ดังนี้ 1) ทักษะทางเทคโนโลยีดิจิทัล 2) ทักษะการสื่อสาร 3) ทักษะการคิดวิเคราะห์และการคิดสร้างสรรค์ 4) ทักษะด้านการบริหารองค์กร 5) ทักษะการบริหารงานบุคคล 6) ทักษะการกำหนดทิศทางองค์กร | th |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | Naresuan University | en_US |
dc.rights | Naresuan University | en_US |
dc.subject | ทักษะของผู้บริหารสถานศึกษา; การบริหารในสถานการณ์โควิด; ผู้บริหาร | th |
dc.subject | Principal’s skills;Managementin the covid epidemic Administration; Administrator | en |
dc.subject.classification | Social Sciences | en |
dc.subject.classification | Education | en |
dc.subject.classification | Training for pre-school teachers | en |
dc.title | NEED ASSESSMENT FOR THE PRINCIPAL’S SKILLS IN THE COVID PREDICAMENT OF THE SCHOOLS UNDER PHETCHABUN PRIMARY EDUCATIONAL SERVICE AREA OFFICE 2 | en |
dc.title | ความต้องการจำเป็นด้านทักษะการบริหารของผู้บริหารสถานศึกษาในสถานการณ์โควิด สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเพชรบูรณ์ เขต 2 | th |
dc.type | Independent Study | en |
dc.type | การค้นคว้าอิสระ | th |
dc.contributor.coadvisor | Thirasak Uppamaiathichai | en |
dc.contributor.coadvisor | ธีรศักดิ์ อุปไมยอธิชัย | th |
dc.contributor.emailadvisor | thirasaku@nu.ac.th | en_US |
dc.contributor.emailcoadvisor | thirasaku@nu.ac.th | en_US |
dc.description.degreename | Master of Education (M.Ed.) | en |
dc.description.degreename | การศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.) | th |
dc.description.degreelevel | Master's Degree | en |
dc.description.degreelevel | ปริญญาโท | th |
dc.description.degreediscipline | Department of Educational Administration and Development | en |
dc.description.degreediscipline | ภาควิชาบริหารและพัฒนาการศึกษา | th |
Appears in Collections: | คณะศึกษาศาสตร์ |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
63070727.pdf | 3.67 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in NU Digital Repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.