Please use this identifier to cite or link to this item: http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/6377
Title: State and guidelines for teacher’s operation approach that provides learning experiences and playing to develop early childhood according to National Standard for Early Childhood of Child Development Center,Lomsak local government organization, Petchaboon province
สภาพและแนวทางการดำเนินงานของครูที่ให้การดูแลการจัดประสบการณ์เรียนรู้และการเล่นเพื่อพัฒนาเด็กปฐมวัยตามมาตรฐาน สถานพัฒนาเด็กปฐมวัยแห่งชาติของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น อําเภอหล่มสักจังหวัดเพชรบูรณ์
Authors: YUPARAT KONGJEEN
ยุพารัตน์ กงจีน
Tussana Siputta
ทัศนะ ศรีปัตตา
Naresuan University
Tussana Siputta
ทัศนะ ศรีปัตตา
tatsanas@nu.ac.th
tatsanas@nu.ac.th
Keywords: การศึกษาสภาพและแนวทาง
การจัดประสบการณ์เรียนรู้
การเล่นเพื่อพัฒนาเด็กปฐมวัย
Study about condition and guidelines
Learning experience arrangement
Playing to develop early childhood
Issue Date:  3
Publisher: Naresuan University
Abstract: The purposes of this study were : 1) To study about teacher’s operation condition that provides learning experiences and playing to develop early childhood according to National Standard for Early Childhood of Child Development Center, Lomsak local government organization, Petchaboon province , 2) To study about guidelines for teacher’s operation approach that provides learning experiences and playing to develop early childhood according to National Standard for Early Childhood of Child Development Center, Lomsak local government organization, Petchaboon province. A sample was selected from 21 school administrators, 77 school chiefs, 33 educators who working in Lomsak local government organization, Petchaboon province in the academic year 2021, a total of 103 people. Random by stratified sampling. Research Instrument was the questionnaire with 1-5 Likert’s scale about condition and teacher’s operation approach that provides learning experiences and playing to develop early childhood according to National Standard for Early Childhood of Child Development Center, Lomsak local government organization, Petchaboon province. Data was collected by percentage, mean  and standard deviation . 2) Semi-structured Interview  about condition and teacher’s operation approach that provides learning experiences and playing to develop early childhood according to National Standard for Early Childhood of Child Development Center, Lomsak local government organization, Petchaboon province. Data was collected by content Analysis .The results of the research showed that 1) Teacher’s operation condition that provides learning experiences and playing to develop early childhood according to National Standard for Early Childhood of Child Development Center, Lomsak local government organization, Petchaboon province was at much level. The aspect with the highest level of practice was physical development encouraging and health care, followed by Intellectual, language and communication encouraging, and the aspect with the least level of practice was care and comprehensively development. 2) Teacher’s operation approach that provides learning experiences and playing to develop early childhood according to National Standard for Early Childhood of Child Development Center, Lomsak local government organization, Petchaboon province was found that            In terms of care and comprehensively development should be organized learning experience plan that, School administrators and teachers should plan to develop a learning experience plan based on the early childhood education curriculum. and integrate content on the benefits and harms of screen communication tools Type of television, computer, tablet or smartphone        
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาสภาพการดำเนินงานของครูที่ให้การดูแลการจัดประสบการณ์เรียนรู้และการเล่นเพื่อพัฒนาเด็กปฐมวัยตามมาตรฐานสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยแห่งชาติของศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก สังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น อําเภอหล่มสัก จังหวัดเพชรบูรณ์และ 2) ศึกษาแนวทางการดำเนินงานของครูที่ให้การดูแลการจัดประสบการณ์เรียนรู้และการเล่นเพื่อพัฒนาเด็กปฐมวัยตามมาตรฐานสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยแห่งชาติของศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก สังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น อําเภอหล่มสัก จังหวัดเพชรบูรณ์ กลุ่มตัวอย่างการวิจัย ได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษา จำนวน 21 คน หัวหน้าสถานศึกษาจำนวน 77 คน นักวิชาการศึกษาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จำนวน 33  คน ที่ปฏิบัติงานในขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น  อำเภอหล่มสัก จังหวัดเพชรบูรณ์  ในปีการศึกษา 2564 รวมทั้งสิ้นจำนวน 103 คน สุ่มโดยวิธีการสุ่มแบบแบ่งชั้น  เครื่องมือการวิจัย คือ  แบบสอบถามมีลักษณะเป็นแบบมาตรประมาณค่า 5 ระดับ  วิเคราะห์ผลการวิจัยโดยค่าร้อยละ  ค่าเฉลี่ย  และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน   2) ศึกษาแนวทางการดำเนินงานของครูที่ให้การดูแลการจัดประสบการณ์เรียนรู้และการเล่นเพื่อพัฒนาเด็กปฐมวัยตามมาตรฐานสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยแห่งชาติของศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก สังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น อําเภอหล่มสัก จังหวัดเพชรบูรณ์ จำนวน 5 ด้าน ได้แก่ 1) ด้านการดูแลและพัฒนาอย่างรอบด้าน     2) ด้านการส่งเสริมพัฒนาการด้านร่างกายและดูแลสุขภาพ 3) ด้านการส่งเสริมพัฒนาการด้านสติปัญญา ภาษา และการสื่อสาร 4) ด้านอารมณ์ จิตใจ-สังคม ปลูกฝังคุณธรรมและความเป็นพลเมืองดี และ 5) ด้านการส่งเสริมเด็กในระยะเปลี่ยนผ่านให้ปรับตัวสู่การเชื่อมต่อในขั้นถัดไป  ผลการวิจัยพบว่า 1) สภาพและการดำเนินงานของครูที่ให้การดูแลการจัดประสบการณ์เรียนรู้และการเล่นเพื่อพัฒนาเด็กปฐมวัยตามมาตรฐานสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยแห่งชาติของศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก สังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น อําเภอหล่มสัก จังหวัดเพชรบูรณ์  โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก ด้านที่มีระดับการปฏิบัติมากที่สุด ได้แก่ ด้านการส่งเสริมพัฒนาการด้านร่างกายและดูแลสุขภาพ รองลงมา ได้แก่ ด้านการส่งเสริมพัฒนาการด้านสติปัญญา ภาษา และการสื่อสาร และด้านที่มีระดับการปฏิบัติน้อยที่สุด ได้แก่ ด้านการดูแลและพัฒนาอย่างรอบด้าน และ 2) แนวทางการดำเนินงานของครูที่ให้การดูแลการจัดประสบการณ์เรียนรู้และการเล่นเพื่อพัฒนาเด็กปฐมวัยตามมาตรฐานสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยแห่งชาติของศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก สังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น อําเภอหล่มสัก จังหวัดเพชรบูรณ์ พบว่า           ด้านการดูแลและพัฒนาอย่างรอบด้าน พบว่า ผู้บริหารสถานศึกษาและครูควรร่วมวางแผนการจัดทำแผนการจัดประสบการณ์การเรียนรู้โดยอิงหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย  และบูรณาการเนื้อหาเกี่ยวกับประโยชน์และโทษของเครื่องมือสื่อสารหน้าจอ ประเภทโทรทัศน์ คอมพิวเตอร์ แท็บเล็ต หรือสมาร์ทโฟน      
URI: http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/6377
Appears in Collections:คณะศึกษาศาสตร์

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
63070574.pdf4.15 MBAdobe PDFView/Open


Items in NU Digital Repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.