Please use this identifier to cite or link to this item:
http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/6374
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor | Pantita Chaiyo | en |
dc.contributor | ปัณฑิตา ไชยโย | th |
dc.contributor.advisor | Nattachet Pooncharoen | en |
dc.contributor.advisor | ณัฐเชษฐ์ พูลเจริญ | th |
dc.contributor.other | Naresuan University | en |
dc.date.accessioned | 2024-11-20T04:50:16Z | - |
dc.date.available | 2024-11-20T04:50:16Z | - |
dc.date.created | 2022 | en_US |
dc.date.issued | 26/10/2022 | en_US |
dc.identifier.uri | http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/6374 | - |
dc.description.abstract | The objectives of this research were to develop organizing learning activities about local history in Nan using the community base to promote the critical thinking process. The participants consisted of students, historical educators, and teachers in Mueang district, Nan province. The data analysis employed a summarizing induction method via descriptive notes and verified the data reliability with a triangulation process through various data collection methods. The results of this research found that the historical learning management problem was that learners do not attach importance to learning history, and the content was overloaded, and the learning time was constrained, resulting in the limitation of learning activity management. The researcher then developed the Nan local history learning activities using the community-based model to enhance the critical thinking process under the activity named 'Learning about the place of birth (Rien Roo Tin Pan Din Koed)' with the purpose that learners can do activities through local learning bases to develop a critical thinking process. Hence, it is summarized that the 'Learning about the place of birth (Rien Roo Tin Pan Din Koed)' activity could develop a critical thinking process and result in learners' achievement. In addition, teachers were the ones who designed learning activities and facilitated the activities' atmosphere so that learners could learn happily according to their interests. However, teachers must consider the differences between learners, for they could learn together. | en |
dc.description.abstract | บทความวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นเมืองน่าน โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน เพื่อส่งเสริมกระบวนการคิดอย่างมีวิจารณญาณ ซึ่งเป็นงานวิจัยเชิงคุณภาพ โดยกลุ่มผู้ให้ข้อมูลหลัก คือ กลุ่มผู้เรียน กลุ่มผู้ให้ความรู้ทางด้านประวัติศาสตร์ และครูผู้สอนที่มีประสบการณ์ทางด้านการจัดการเรียนการสอนในโรงเรียน มีขอบเขตพื้นที่การวิจัย คือ เขตพื้นที่อำเภอเมืองน่าน จังหวัดน่าน การวิเคราะห์ด้วยวิธีสรุปอุปนัยโดยบันทึกพรรณนา และตรวจสอบความน่าเชื่อถือของข้อมูลด้วยแบบสามเส้าด้วยวิธีการเก็บรวบรวมข้อมูลต่างๆ ผลการวิจัย พบว่า สภาพปัญหาการจัดการเรียนรู้ประวัติศาสตร์ คือ ผู้เรียนไม่ให้ความสำคัญในการเรียนวิชาประวัติศาสตร์ และเนื้อหามีจำนวนมาก และเวลาในการเรียนมีจำกัด ทำให้ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้มีข้อจำกัด ผู้วิจัยจึงได้พัฒนาแนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นเมืองน่าน โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน เพื่อส่งเสริมกระบวนการคิดอย่างมีวิจารณญาณ ภายใต้กิจกรรม “เรียนรู้ถิ่น แผ่นดินเกิด” มุ่งให้ผู้เรียนได้เรียนรู้กิจกรรมผ่านฐานการเรียนรู้ที่เป็นแหล่งเรียนรู้ในท้องถิ่น เพื่อพัฒนากระบวนการคิดอย่างมีวิจารณญาณ จากการวิจัยสามารถสรุปได้ว่ากิจกรรม “เรียนรู้ถิ่น แผ่นดินเกิด” เป็นกิจกรรมที่สามารถตอบโจทย์ในการส่งเสริมกระบวนการคิดอย่างมีวิจารณญาณ และมุ่งให้เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อผู้เรียนเป็นสำคัญ นอกจากนี้ครูผู้สอนเป็นผู้ที่ออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ และเอื้ออำนวยบรรยากาศในการจัดกิจกรรมของผู้เรียน ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ได้อย่างมีความสุข ตรงตามสนใจ และครูผู้สอนต้องคำนึงถึงความแตกต่างของผู้เรียน เพื่อจะได้เรียนรู้ร่วมกัน | th |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | Naresuan University | en_US |
dc.rights | Naresuan University | en_US |
dc.subject | กิจกรรมการเรียนรู้ | th |
dc.subject | ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นเมืองน่าน | th |
dc.subject | ชุมชนเป็นฐาน | th |
dc.subject | กระบวนการคิดอย่างมีวิจารณญาณ | th |
dc.subject | Learning activity | en |
dc.subject | Nan local history | en |
dc.subject | Community-based model | en |
dc.subject | Critical thinking process | en |
dc.subject.classification | Social Sciences | en |
dc.subject.classification | Education | en |
dc.title | ORGANIZING LEARNING ACTIVITIES ABOUT LOCAL HISTORY IN NAN USING THE COMMUNITY BASE TO PROMOTE THE CRITICAL THINKING PROCESS | en |
dc.title | การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นเมืองน่าน โดยใช้ชุมชนเป็นฐานเพื่อส่งเสริมกระบวนการคิดอย่างมีวิจารณญาณ | th |
dc.type | Independent Study | en |
dc.type | การค้นคว้าอิสระ | th |
dc.contributor.coadvisor | Nattachet Pooncharoen | en |
dc.contributor.coadvisor | ณัฐเชษฐ์ พูลเจริญ | th |
dc.contributor.emailadvisor | Nattachetp@nu.ac.th | en_US |
dc.contributor.emailcoadvisor | Nattachetp@nu.ac.th | en_US |
dc.description.degreename | Master of Education (M.Ed.) | en |
dc.description.degreename | การศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.) | th |
dc.description.degreelevel | Master's Degree | en |
dc.description.degreelevel | ปริญญาโท | th |
dc.description.degreediscipline | Department of Education | en |
dc.description.degreediscipline | ภาควิชาการศึกษา | th |
Appears in Collections: | คณะศึกษาศาสตร์ |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
63070499.pdf | 4.31 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in NU Digital Repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.