Please use this identifier to cite or link to this item:
http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/6369
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor | NIRUEMON WONGINPOR | en |
dc.contributor | นิฤมล วงค์อินพ่อ | th |
dc.contributor.advisor | Sathiraporn Chaowachai | en |
dc.contributor.advisor | สถิรพร เชาวน์ชัย | th |
dc.contributor.other | Naresuan University | en |
dc.date.accessioned | 2024-11-20T04:50:13Z | - |
dc.date.available | 2024-11-20T04:50:13Z | - |
dc.date.created | 2022 | en_US |
dc.date.issued | 3/6/2022 | en_US |
dc.identifier.uri | http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/6369 | - |
dc.description.abstract | This study aimed to examine the status of and guideline for early childhood learning-friendly environmental management under Sukhothai Primary Education Area Office 2. Research procedure involve in 2 steps: Step 1 – explore the status of early childhood learning-friendly environmental management under Sukhothai Primary Education Area Office 2. Key informants involved in this step were 29 school administrators and 188 elementary school teachers (217 of total). Determining sample size by using Krejcie & Morgan’s table and recruiting the participants using Stratified Sampling method based on proportion of school administrators and early childhood teachers in each district were performed. Data was collected by using questionnaire and was analyzed with Mean and Standard Deviation. Step 2 – examine guideline for early childhood learning-friendly environmental management under Sukhothai Primary Education Area Office 2. Key informants involved in this step were 4 qualified experts recruited by using Purposive sampling method. Data was collected by using interview form and was analyzed by conducting content analysis. Results revealed that: 1) the status of early childhood learning-friendly environmental management under Sukhothai Primary Education Area Office 2, in overall, was at high level. By considering on each aspect, although it was found that social environmental aspect had highest mean, whereas the environment in school building aspect had highest mean. 2) the study of guideline for early childhood learning-friendly environmental management under Sukhothai Primary Education Area Office 2 indicated that school administrators and early childhood teachers should allocated and arrange the classroom area to be sufficient for students based on National Standard for Early Childhood Care, Development and Education Thailand. This process should consider on size of classroom and living area, choose light weight and slidable room divider to facilitate observation of children while in the classroom, prepare the sufficient light, well - validated classroom suitable for organizing a variety of activities, and use materials and equipment that are strong, durable and safe for children. | en |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาสภาพของการจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้ของเด็กปฐมวัย และแนวทางการจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้ของเด็กปฐมวัย สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุโขทัย เขต 2 โดยผู้วิจัยได้แบ่งขั้นตอนการวิจัยเป็น 2 ขั้น คือ ขั้นตอนที่ 1 การศึกษาสภาพของการจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้ของเด็กปฐมวัย สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุโขทัย เขต 2 กลุ่มผู้ให้ข้อมูล ได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษา 29 คน และครูผู้สอนเด็กปฐมวัย 188 คน รวมทั้งหมด 217 คน กำหนดขนาดโดยใช้ตารางเครจซี่และมอร์แกน และเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบแบ่งชั้นตามสัดส่วนของผู้บริหารสถานศึกษา และครูผู้สอนเด็กปฐมวัยในแต่ละอำเภอ เก็บรวบรวมข้อมูลด้วยแบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลด้วยค่าเฉลี่ยและค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และขั้นตอนที่ 2การศึกษาแนวทางการจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้ของเด็กปฐมวัย สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุโขทัย เขต 2 กลุ่มผู้ให้ข้อมูล คือ ผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 4 คน ได้มาจากการเลือกแบบเจาะจง เก็บรวบรวมข้อมูลด้วยแบบสัมภาษณ์ วิเคราะห์ข้อมูลด้วยการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัย พบว่า 1. ผลการศึกษาสภาพของการจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้ของเด็กปฐมวัย สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุโขทัย เขต 2 ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณารายด้าน พบว่า ด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ ด้านสภาพแวดล้อมทางสังคม และด้านที่มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด คือ ด้านสภาพแวดล้อมภายในอาคารเรียน 2. ผลการศึกษาแนวทางการจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้ของเด็กปฐมวัย สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุโขทัย เขต 2 พบว่า ผู้บริหารสถานศึกษาและครูผู้สอนเด็กปฐมวัยควรจัดสัดส่วนพื้นที่ของห้องเรียนให้เพียงพอต่อจำนวนเด็กตามสัดส่วนที่กำหนดไว้ในมาตรฐานสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยแห่งชาติ โดยคำนึงถึงขนาดของห้องเรียนและพื้นที่ใช้สอย เลือกใช้ฝาผนังกั้นห้องเรียนแบบเบาที่สามารถเลื่อนได้ เพื่อสะดวกในการสังเกตเด็กขณะอยู่ในห้องเรียน จัดห้องเรียนให้มีแสงสว่างที่เพียงพอ อากาศถ่ายเทได้สะดวก เหมาะสมในการจัดกิจกรรมที่หลากหลาย เลือกใช้วัสดุ อุปกรณ์ ที่มีความแข็งแรง ทนทานต่อการใช้งาน และมีความปลอดภัยต่อเด็ก | th |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | Naresuan University | en_US |
dc.rights | Naresuan University | en_US |
dc.subject | การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้, | th |
dc.subject | เด็กปฐมวัย, | th |
dc.subject | สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุโขทัย เขต 2, | th |
dc.subject | Learning-friendly Environmental Management | en |
dc.subject | Early Childhood | en |
dc.subject | Sukhothai Primary Education Area Office 2 | en |
dc.subject.classification | Social Sciences | en |
dc.subject.classification | Education | en |
dc.subject.classification | Education science | en |
dc.title | A STUDY OF ENVIRONMENTAL MANAGEMENT CONTRIBUTED TO LEARNING OF EARLY CHILDHOOD UNDER SUKHOTHAI PRIMARY EDUCATIONAL SEVICE AREA OFFICE 2 | en |
dc.title | การศึกษาสภาพและแนวทางการจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้ของเด็กปฐมวัย สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุโขทัย เขต 2 | th |
dc.type | Independent Study | en |
dc.type | การค้นคว้าอิสระ | th |
dc.contributor.coadvisor | Sathiraporn Chaowachai | en |
dc.contributor.coadvisor | สถิรพร เชาวน์ชัย | th |
dc.contributor.emailadvisor | sathirapornc@nu.ac.th | en_US |
dc.contributor.emailcoadvisor | sathirapornc@nu.ac.th | en_US |
dc.description.degreename | Master of Education (M.Ed.) | en |
dc.description.degreename | การศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.) | th |
dc.description.degreelevel | Master's Degree | en |
dc.description.degreelevel | ปริญญาโท | th |
dc.description.degreediscipline | Department of Educational Administration and Development | en |
dc.description.degreediscipline | ภาควิชาบริหารและพัฒนาการศึกษา | th |
Appears in Collections: | คณะศึกษาศาสตร์ |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
63070420.pdf | 2.35 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in NU Digital Repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.