Please use this identifier to cite or link to this item:
http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/6361
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor | CHANAPHON MEKDEE | en |
dc.contributor | ชนาพร เมฆดี | th |
dc.contributor.advisor | Tussana Siputta | en |
dc.contributor.advisor | ทัศนะ ศรีปัตตา | th |
dc.contributor.other | Naresuan University | en |
dc.date.accessioned | 2024-11-20T04:50:04Z | - |
dc.date.available | 2024-11-20T04:50:04Z | - |
dc.date.created | 2022 | en_US |
dc.date.issued | 2/6/2022 | en_US |
dc.identifier.uri | http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/6361 | - |
dc.description.abstract | This research aimed to investigate the current state and guidelines of curriculum management in School under The Secondary Educational Service Area Office Phitsanulok. The research had 2 steps: 1) studied the current status of curriculum management in School under The Secondary Educational Service Area Office Phitsanulok. Samples were 39 school administrators and 312 head teachers of Department (in total 351). The samples were selected by using purposive sampling approach. 5-point Likert scale were used as tools for collecting data. The statistic tools included Mean, Standard Deviation. 2) studied the guidelines of curriculum management in School under The Secondary Educational Service Area Officez Phitsanulok. 3 qualified experts were interviewed and content analysis were used for analyzing data. Results showed that: 1. Overall, the current state of curriculum management in School under The Secondary Educational Service Area Office Phitsanulok was at high level. By considering on each aspect, Curriculum Implementation aspect had highest mean, followed by Curriculum Construction aspect and Curriculum Evaluation aspect had lowest mean, respectively. 2. Guidelines for curriculum management in School under The Secondary Educational Service Area Office Phitsanulok defined the prominent approaches as following: 3 approaches of Curriculum Construction, 3 approaches of Curriculum Implementation Planning, 4 approaches of Curriculum Implementation, 4 approaches of Curriculum Evaluation, and 2 approaches of Curriculum Improvement. (in total 16 Guidelines for curriculum management) | en |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสภาพและแนวทางการบริหารหลักสูตรสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาในจังหวัดพิษณุโลก โดยผู้วิจัยได้แบ่งขั้นตอนการวิจัยเป็น 2 ขั้นตอน คือ ขั้นตอนที่ 1 การศึกษาสภาพการบริหารหลักสูตรสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาในจังหวัดพิษณุโลก กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษาและครู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาในจังหวัดพิษณุโลก จำนวน 351 คน แบ่งเป็นผู้บริหารสถานศึกษา จำนวน 39 คน และครูที่ปฏิบัติหน้าที่หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ จำนวน 312 คน ได้โดยการเลือกแบบเจาะจง (Purposive sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ แบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ยและค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ขั้นตอนที่ 2 การศึกษาแนวทางบริหารหลักสูตรสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาในจังหวัดพิษณุโลก ข้อมูลได้จากการสัมภาษณ์ผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 3 คน วิเคราะห์ข้อมูลโดยการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัย พบว่า 1. สภาพการบริหารหลักสูตรสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาในจังหวัดพิษณุโลกในภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ ด้านการใช้หลักสูตรสถานศึกษา รองลงมา คือ ด้านการจัดทำหลักสูตรสถานศึกษาและด้านที่มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด คือ ด้านการประเมินผลหลักสูตรสถานศึกษา 2. แนวทางบริหารหลักสูตรสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาในจังหวัดพิษณุโลก พบว่า มีทั้งหมด 16 แนวทาง ซึ่งประกอบด้วย ด้านการจัดทำหลักสูตรสถานศึกษา 3 แนวทาง ด้านการวางแผนการใช้หลักสูตรสถานศึกษา 3 แนวทาง ด้านการใช้หลักสูตรสถานศึกษา 4 แนวทาง ด้านการประเมินผลหลักสูตรสถานศึกษา 4 แนวทาง และด้านการปรับปรุงและพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา 2 แนวทาง | th |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | Naresuan University | en_US |
dc.rights | Naresuan University | en_US |
dc.subject | สภาพและแนวทางการบริหาร | th |
dc.subject | หลักสูตรสถานศึกษา | th |
dc.subject | State and Management Guideline | en |
dc.subject | Curriculum | en |
dc.subject.classification | Social Sciences | en |
dc.subject.classification | Education | en |
dc.title | STATE AND GUIDELINES OF CURRICULUM MANAGEMENT IN SCHOOL UNDER THE SECONDARY EDUCATIONAL SERVICE AREA OFFICE PHITSASNATEULOK | en |
dc.title | สภาพและแนวทางการบริหารหลักสูตรสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาในจังหวัดพิษณุโลก | th |
dc.type | Independent Study | en |
dc.type | การค้นคว้าอิสระ | th |
dc.contributor.coadvisor | Tussana Siputta | en |
dc.contributor.coadvisor | ทัศนะ ศรีปัตตา | th |
dc.contributor.emailadvisor | tatsanas@nu.ac.th | en_US |
dc.contributor.emailcoadvisor | tatsanas@nu.ac.th | en_US |
dc.description.degreename | Master of Education (M.Ed.) | en |
dc.description.degreename | การศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.) | th |
dc.description.degreelevel | Master's Degree | en |
dc.description.degreelevel | ปริญญาโท | th |
dc.description.degreediscipline | Department of Educational Administration and Development | en |
dc.description.degreediscipline | ภาควิชาบริหารและพัฒนาการศึกษา | th |
Appears in Collections: | คณะศึกษาศาสตร์ |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
63070185.pdf | 3.85 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in NU Digital Repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.