Please use this identifier to cite or link to this item:
http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/6359
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor | KANYAPAK JUTAPONLAKUL | en |
dc.contributor | กัญญาภัค จูฑพลกุล | th |
dc.contributor.advisor | Tussana Siputta | en |
dc.contributor.advisor | ทัศนะ ศรีปัตตา | th |
dc.contributor.other | Naresuan University | en |
dc.date.accessioned | 2024-11-20T04:50:01Z | - |
dc.date.available | 2024-11-20T04:50:01Z | - |
dc.date.created | 2022 | en_US |
dc.date.issued | 3/6/2022 | en_US |
dc.identifier.uri | http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/6359 | - |
dc.description.abstract | The objectives of this research (1) were to study the leadership in the digital age of school administrator under the Nakronsawan Secondary Education Service Area Office (2) to compare leadership in the digital age of school administrator under the Nakronsawan Secondary Education Service Area Office classified by educational level, work experience and size of educational institutions; and (3) to study the guidelines for the development of leadership in the digital age of school administrator under the Nakronsawan Secondary Education Service Area Office. The sample group consisted of 324 teachers in schools under the Nakronsawan Secondary Education Service Area Office. By using basic statistics, i.e. mean, standard deviation, and an interview form about the guidelines for the development of leadership in the digital age of school administrator under the Nakronsawan Secondary Education Service Area Office. The results of the research showed that 1) the study leadership in the digital age of school administrator under the Nakronsawan Secondary Education Service Area Office overall, it’s at a high level. The highest mean is digital vision at a high level, followed by digital literacy at a high level and the lowest mean level was digital communication at a high level. 2) Comparison of leadership in the digital age of school administrator under the Nakronsawan Secondary Education Service Area Office classified by educational level ,work experience and the size of the educational institutions found that the overall was not different. 3) Guidelines for the development of leadership in the digital age of school administrator under the Nakronsawan Secondary Education Service Area Office has 3 approaches as follows: (1) Digital communication (2) Digital vision and (3) digital literacy. | en |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ (1) เพื่อศึกษาภาวะผู้นำในยุคดิจิทัลของผู้บริหารสถานศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษานครสวรรค์ (2) เพื่อเปรียบเทียบภาวะผู้นำในยุคดิจิทัลของผู้บริหารสถานศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษานครสวรรค์ โดยจำแนกตามระดับการศึกษา ประสบการณ์การทำงานและขนาดของสถานศึกษา และ (3) เพื่อศึกษาแนวทางในการพัฒนาภาวะผู้นำในยุคดิจิทัลของผู้บริหารสถานศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษานครสวรรค์ กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ครูในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษานครสวรรค์ จำนวนทั้งหมด 324 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ แบบสอบถามภาวะผู้นำในยุคดิจิทัลของผู้บริหารสถานศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษานครสวรรค์ โดยใช้สถิติพื้นฐาน ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและแบบสัมภาษณ์เกี่ยวกับแนวทางในการพัฒนาภาวะผู้นำในยุคดิจิทัลของผู้บริหารสถานศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษานครสวรรค์ ผลการวิจัยพบว่า 1) ภาวะผู้นำในยุคดิจิทัลของผู้บริหารสถานศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษานครสวรรค์ โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก ด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุดคือ ด้านการมีวิสัยทัศน์ดิจิทัล อยู่ในระดับมาก รองลงมา คือ ด้านการรู้ดิจิทัล อยู่ในระดับมากและด้านที่มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด คือ ด้านการสื่อสารดิจิทัล อยู่ในระดับมาก 2) เปรียบเทียบภาวะผู้นำในยุคดิจิทัลของผู้บริหารสถานศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษานครสวรรค์ โดยจำแนกตามระดับการศึกษา ประสบการณ์การทำงานและขนาดของสถานศึกษา พบว่า ภาพรวมไม่แตกต่างกัน 3) แนวทางในการพัฒนาภาวะผู้นำในยุคดิจิทัลของผู้บริหารสถานศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษานครสวรรค์ จำนวน 3 ด้าน ได้แก่ (1) ด้านการสื่อสารดิจิทัล (2) และ (3) ด้านการรู้ดิจิทัล | th |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | Naresuan University | en_US |
dc.rights | Naresuan University | en_US |
dc.subject | ภาวะผู้นำ | th |
dc.subject | ภาวะผู้นำในยุคดิจิทัล | th |
dc.subject | ผู้บริหารสถานศึกษา | th |
dc.subject | leadership | en |
dc.subject | leadership in the digital age | en |
dc.subject | school administrator | en |
dc.subject.classification | Social Sciences | en |
dc.subject.classification | Education | en |
dc.subject.classification | Education science | en |
dc.title | LEADERSHIP IN THE DIGITAL AGE OF SCHOOL ADMINISTRATOR UNDER THE NAKRONSAWAN SECONDARY EDUCATION SERVICE AREA OFFICE. | en |
dc.title | ภาวะผู้นำในยุคดิจิทัลของผู้บริหารสถานศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษานครสวรรค์ | th |
dc.type | Independent Study | en |
dc.type | การค้นคว้าอิสระ | th |
dc.contributor.coadvisor | Tussana Siputta | en |
dc.contributor.coadvisor | ทัศนะ ศรีปัตตา | th |
dc.contributor.emailadvisor | tatsanas@nu.ac.th | en_US |
dc.contributor.emailcoadvisor | tatsanas@nu.ac.th | en_US |
dc.description.degreename | Master of Education (M.Ed.) | en |
dc.description.degreename | การศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.) | th |
dc.description.degreelevel | Master's Degree | en |
dc.description.degreelevel | ปริญญาโท | th |
dc.description.degreediscipline | Department of Educational Administration and Development | en |
dc.description.degreediscipline | ภาควิชาบริหารและพัฒนาการศึกษา | th |
Appears in Collections: | คณะศึกษาศาสตร์ |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
63070086.pdf | 3.67 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in NU Digital Repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.