Please use this identifier to cite or link to this item:
http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/6357
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor | KANGWAN SOYTHONG | en |
dc.contributor | กังวาน สร้อยทอง | th |
dc.contributor.advisor | Anucha Kornpuang | en |
dc.contributor.advisor | อนุชา กอนพ่วง | th |
dc.contributor.other | Naresuan University | en |
dc.date.accessioned | 2024-11-20T04:50:00Z | - |
dc.date.available | 2024-11-20T04:50:00Z | - |
dc.date.created | 2022 | en_US |
dc.date.issued | 3/6/2022 | en_US |
dc.identifier.uri | http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/6357 | - |
dc.description.abstract | This research aimed to 1) study the leadership level influencing the effectiveness of school. 2) study the effectiveness level of school. 3) study the relationship between leadership influencing the effectiveness of school 4) Search the forecasting equation effectiveness of school under Phetchabun Primary Educational Service Area Office 3. The samples comprised teachers in the schools under Phetchabun Primary Educational Service Area Office 3 in academic year 2021. The Quantity three hundred and thirty – three persons that define the sample size by mean comparison the table of Krejcie and Morgan. And choose the samples with simple random sampling. The instruments used for collecting the data were 5-level rating-scale questionnaires about leadership influencing the effectiveness of school amount of 114 items. The value of Index of Item Objective Congruence (IOC) equal to 1 all items. Validity of Predictor variable and Criterion variable were between 0.95-0.98. The statistics used for analyzing the data were percentage, mean (X), standard deviation (S.D.), Pearson’s product correlation coefficient and Enter Regression. The research results were found as follows. 1) the leadership level influencing the effectiveness of school overall were in the high level 2) The effectiveness level of school overall were in the high level. 3) The relationship between leadership influencing the effectiveness of school were moderate level in positive direction, are statistically at the .01 level. 4) Strategic Leadership (X1) and Transformational Leadership (X3) be able prevision, explain the effectiveness of school equal to 40.00 precents, were able to write raw scores and standard scores as follows: Y = 1.49 + 0.30X1 + 0.30X3 Zy = 0.33ZX1 + 0.32ZX3 | en |
dc.description.abstract | การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาระดับภาวะผู้นำที่ส่งผลต่อประสิทธิผลสถานศึกษา 2) ศึกษาระดับประสิทธิผลสถานศึกษา 3) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำที่ส่งผลต่อประสิทธิผลสถานศึกษา และ 4) สร้างสมการพยากรณ์ประสิทธิผลสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเพชรบูรณ์ เขต 3 กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ครูในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเพชรบูรณ์ เขต 3 ปีการศึกษา 2564 จำนวน 317 คน ซึ่งกำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างโดยการเทียบตารางเครจซี่และมอร์แกน และเลือกกลุ่มตัวอย่างด้วยการสุ่มอย่างง่าย เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือ แบบสอบถามภาวะผู้นำที่ส่งผลต่อประสิทธิผลสถานศึกษาเป็นแบบชนิดมาตรประมาณค่า 5 ระดับ จำนวน 114 ข้อ และคุณภาพเครื่องมือด้านความสอดคล้องมีดัชนีความสอดคล้อง IOC เท่ากับ 1 ทุกข้อ และมีค่าความเที่ยงของตัวแปรพยากรณ์และตัวแปรเกณฑ์อยู่ระหว่าง 0.95-0.98 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย (X) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน และการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณเชิงเส้นแบบปกติ ผลการวิจัยพบว่า 1) ระดับภาวะผู้นำที่ส่งผลต่อประสิทธิผลสถานศึกษา ในภาพรวมอยู่ระดับมาก 2) ระดับประสิทธิผลสถานศึกษา ในภาพรวมอยู่ระดับมาก 3) ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำที่ส่งผลต่อประสิทธิผลสถานศึกษา มีความสัมพันธ์ทางบวกอยู่ในระดับปานกลาง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 4) ภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ (X1) และภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลง (X3) สามารถทำนาย ประสิทธิผลสถานศึกษา ได้ร้อยละ 40.00 สามารถเขียนสมการพยากรณ์ในรูปของคะแนนดิบและคะแนนมาตรฐานได้ดังนี้ตามลำดับ Y = 1.49 + 0.30X1 + 0.30X3 Xy = 0.33ZX1 + 0.32ZX3 | th |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | Naresuan University | en_US |
dc.rights | Naresuan University | en_US |
dc.subject | ภาวะผู้นำ | th |
dc.subject | ประสิทธิผลสถานศึกษา | th |
dc.subject | การบริหารการศึกษา | th |
dc.subject | Leadership | en |
dc.subject | The effectiveness of school | en |
dc.subject | Administration | en |
dc.subject.classification | Social Sciences | en |
dc.subject.classification | Education | en |
dc.subject.classification | Training for teachers with subject specialisation | en |
dc.title | The Model of Leadership Affecting The Effectiveness of SchoolUnder Phetchabun Primary Educational Service Area Office 3 | en |
dc.title | แบบภาวะผู้นำที่ส่งผลต่อประสิทธิผลสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเพชรบูรณ์ เขต 3 | th |
dc.type | Independent Study | en |
dc.type | การค้นคว้าอิสระ | th |
dc.contributor.coadvisor | Anucha Kornpuang | en |
dc.contributor.coadvisor | อนุชา กอนพ่วง | th |
dc.contributor.emailadvisor | anuchako@nu.ac.th | en_US |
dc.contributor.emailcoadvisor | anuchako@nu.ac.th | en_US |
dc.description.degreename | Master of Education (M.Ed.) | en |
dc.description.degreename | การศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.) | th |
dc.description.degreelevel | Master's Degree | en |
dc.description.degreelevel | ปริญญาโท | th |
dc.description.degreediscipline | Department of Educational Administration and Development | en |
dc.description.degreediscipline | ภาควิชาบริหารและพัฒนาการศึกษา | th |
Appears in Collections: | คณะศึกษาศาสตร์ |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
63070062.pdf | 5.07 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in NU Digital Repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.